ระบบการเมืองแบบประชาธิปไตย
ระบบการเมืองแบบประชาธิปไตย คือ ระบบการเมืองที่ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครองตนเอง มี 3ลักษณะ คือ
ประชาธิบไตยแบบรัฐสภานายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารและสภานิติบัญญัติมีประธานาธิบดีที่ถูกเลือกตั้งเป็นประมุขของประเทศเพียงแต่ในนาม รัฐสภา(ฝ่ายนิติบัญญัติ)กับคณะรัฐมนตรี(ฝ่ายบริหาร) จะมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด
ประเทศบังกลาเทศ ประเทศบัลแกเรีย ประเทศเช็ก ประเทศโดมินิกา ประเทศฮังการี ประเทศไอร์แลนด์ ประเทศอิสราเอล ประเทศลัตเวีย ประเทศลิธัวเนีย ประเทศมาซีโดเนีย ประเทศมอริเชียส ประเทศฟินแลนด์ ประเทศเนปาล ประเทศโปรตุเกส ประเทศสโลวาเกีย ประเทศตรินิแดดและโตเบโก ประเทศตุรกี ประเทศซิมบับเว ประชาธิปไตยแบบประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา
ในการปกครองระบบประชาธิไตยแบบนี้ ฝ่ายนิติบัญญัติ(รัฐสภา) ฝ่ายบริหาร(ประธานาธิบดี) และฝ่ายตุลาการ(ศาล)แยกอำนาจออกจากกัน
ประชาธิปไตยแบบกึ่งประธานาธิบดีกึ่งรัฐสภาระบบกึ่งประธานาธิบดีมีทั้งประธานาธิบดีและนายกรัฐมนตรี ประธานาธิบดีมีอำนาจบริหารและเป็นประมุขของประเทศ รวมทั้งสามารถแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีได้
ระบบการเมืองแบบเผด็จการ คือ ระบบการเมืองการปกครองที่คณะผู้ปกครองใช้อำนาจเหนือประชาชนโดยไม่ยอมรับเสรีภาพหรือความเสมอภาคของประชาชน ระบบเผด็จการมีอยู่ 2 ประเภท ดังนี้
ระบบการปกครองเผด็จการที่ผู้ปกครองมีอำนาจสูงสุดเพียงคนเดียว สมบูรณาญาสิทธิราชย์ในระบบนี้ พระมหากษัตริย์ทรงมีพระราชอำนาจสมบูรณ์และทรงสืบทอดอำนาจผ่านทางราชวงศ์
กลุ่มผู้ปกครองในระบบนี้จะปกครองประเทศเพื่อผลประโยชน์ของกลุ่มตน โดยผู้ปกครองสามารถเป็นบุคคลสามัญได้
ประเทศพม่า ประเทศลิเบีย ระบบคอมมิวนิสต์ระบบการเมืองแบบนี้เป็นการปกครองโดยพรรคคอมมิวนิสต์ซึ่งเป็นพรรครัฐบาลเพียงพรรคเดียว รัฐบาลจะกำหนดนโยบายทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
ประเทศจีน ประเทศคิวบา ประเทศเกาหลีเหนือ ประเทศลาว ประเทศเวียดนาม อื่นๆ สาธารณรัฐอิสลาม ประเทศอัฟกานิสถาน ประเทศปากีสถาน สาธารณรัฐ ประเทศแอลจีเรีย ประเทศอาร์เจนตินา ประเทศอาร์เมเนีย ประเทศอาเซอร์ไบจาน ประเทศอุซเบกิสถาน ประเทศเบนิน ประเทศโบลิเวีย ประเทศบุรุนดี ประเทศแคเมอรูน ประเทศเคปเวิร์ด ประเทศแอฟริกากลาง ประเทศชาด ประเทศชิลี ประเทศโคลัมเบีย ประเทศคอโมโรส สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ประเทศคองโก ประเทศไซปรัส ประเทศโกตดิวัวร์ ประเทศจิบูตี ประเทศติมอร์ตะวันออก ประเทศเอกวาดอร์ ประเทศอียิปต์ ประเทศเอลซัลวาดอร์ ประเทศอิเควทอเรียลกินี ประเทศฟิจิ ประเทศกาบอง ประเทศแกมเบีย ประเทศจอร์เจีย ประเทศกินี ประเทศกินี-บิสเซา ประเทศกายอานา ประเทศเฮติ ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศอิตาลี ประเทศเคนยา ประเทศคิริบาส ประเทศเกาหลีใต้ ประเทศคีร์กีซสถาน ประเทศเลบานอน ประเทศไลบีเรีย ประเทศมาดากัสการ์ ประเทศมัลดีฟส์ ประเทศมาลี ประเทศมอลตา ประเทศมอริเตเนีย ประเทศมอลโดวา ประเทศโมซัมบิก ประเทศนามิเบีย ประเทศนาอูรู ประเทศนิการากัว ประเทศไนเจอร์ ประเทศฟิลิปปินส์ ประเทศโปแลนด์ ประเทศโรมาเนีย ประเทศซานมารีโน ประเทศเซเนกัล ประเทศเซอร์เบีย ประเทศมอนเตเนโกร ประเทศเซเชลส์ ประเทศแอฟริกาใต้ ประเทศศรีลังกา ประเทศซีเรีย ประเทศเซาตูเมและปรินซิปี ประเทศทาจิกิสถาน ประเทศแทนซาเนีย ประเทศโตโก ประเทศตูนิเซีย ประเทศเติร์กเมนิสถาน ประเทศยูกันดา ประเทศยูเครน ประเทศเยเมน ประเทศแซมเบีย ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญระบบนี้เป็นระบบที่นายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารและสภานิติบัญญัติ ประมุขของรัฐเป็นพระมหากษัตริย์ใต้รัฐธรรมนูญผู้ทรงใช้พระราชอำนาจตามความเห็นชอบของรัฐบาล ประชาชน หรือตัวแทนของประชาชน
ประเทศลิกเตนสไตน์ ประเทศโมร็อกโก ประเทศอันดอร์รา ประเทศเบลเยียม ประเทศกัมพูชา ประเทศเดนมาร์ก ประเทศญี่ปุ่น ประเทศเลโซโท ประเทศลักเซมเบิร์ก ประเทศมาเลเซีย ประเทศโมนาโก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ประเทศนอร์เวย์ ประเทศซามัว ประเทศสเปน ประเทศสวีเดน ประเทศไทย ประเทศตองกา ประเทศภูฏาน เครือจักรภพอังกฤษสมเด็จพระบรมราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร ทรงเป็นประมุขของแต่ละประเทศในเครือจักรภพอังกฤษ และทรงมีพระนามต่างๆกันไป เช่น"พระราชินีแห่งออสเตรเลีย" เป็นต้น พระราชินีทรงแต่งตั้งผู้แทนพระองค์ไปปกครองในแต่ละประเทศนอกจากในสหราชอาณาจักร โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าของฝ่ายบริหารและสภานิติบัญญัติ
ประเทศแอนติกาและบาร์บูดา ประเทศออสเตรเลีย ประเทศบาฮามาส ประเทศบังกลาเทศ ประเทศบาร์เบโดส ประเทศเบลีซ ประเทศบอตสวานา ประเทศบรูไน ประเทศแคเมอรูน ประเทศแคนาดา ประเทศไซปรัส ประเทศโดมินิกา ประเทศแกมเบีย ประเทศกานา ประเทศเกรเนดา ประเทศกายอานา ประเทศอินเดีย ประเทศจาไมกา ประเทศเคนยา ประเทศคิริบาส ประเทศเลโซโท ประเทศมาลาวี ประเทศมาเลเซีย ประเทศมัลดีฟส์ ประเทศมอลตา ประเทศมอริเชียส ประเทศโมซัมบิก ประเทศนามิเบีย ประเทศนาอูรู ประเทศนิวซีแลนด์ ประเทศไนจีเรีย ประเทศปากีสถาน ประเทศปาปัวนิวกินี ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส ประเทศเซนต์ลูเซีย ประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ ประเทศซามัว ประเทศเซเชลส์ ประเทศเซียร์ราลีโอน ประเทศสิงคโปร์ หมู่เกาะโซโลมอน ประเทศแอฟริกาใต้ ประเทศศรีลังกา ประเทศสวาซิแลนด์ ประเทศตองกา ประเทศตรินิแดดและโตเบโก ประเทศตูวาลู ประเทศยูกันดา สหราชอาณาจักร