พวกเขาได้แสดงให้เห็นว่าพวกเขาสามารถสร้างแบบทรงกลมหยาบๆบนกระดานในเวลากลางวัน - แต่ขาดซึ่งความแม่นยำทางเรขาคณิต ความสลับซับซ้อนและความสวยงามของวงกลมปริศนาอย่างที่พบในลักษณะที่มีองค์ประกอบงดงามสุดยอด ในเวลานั้น ‘วงกลมปริศนา’ ได้ปรากฏขึ้นในลักษณะของภาพสัญลักษณ์ที่ซับซ้อนแล้ว แต่ ดั๊กกับเดฟ ไม่สามารถที่จะอธิบายให้เชื่อได้ว่าพวกเขาสรรสร้างสิ่งเหล่านั้นได้อย่างไร พวกเขาไม่สามารถแม้แต่จะลอกลายแบบไม้กางเขนลงบนกระดาษ ดังที่เขาได้อ้างว่าเขาเป็นผู้บรรจงสรรสร้างขึ้นแต่อย่างใด
เมื่อจำนนต่อหลักฐานที่ว่าพวกเขาไม่ได้เกี่ยวข้องอะไรเลยกับการก่อร่างสร้างรูปแต่อย่างใดเลย พวกเขาก็เริ่มกลับคำ หากแม้นว่า คำอวดอ้างเกินจริงของพวกเขาที่ว่าเป็นผู้สร้างวงกลมปริศนาจำนวน 250 แห่งในประเทศอังกฤษ ตั้งแต่ปีค.ศ.1978 จะเป็นความจริงก็ตาม นั่นก็ยังทิ้งให้วงกลมปริศนาอีกจำนวน 1750 แห่งในประเทศอังกฤษและประเทศอื่นๆ ยังคงเป็นปริศนาต่อไป รวมไปถึงวงกลมปริศนาที่ปรากฏไปแล้วก่อนหน้าปีค.ศ.1978 อีกด้วย
เรื่องนี้ไม่ได้ทำให้สาธารณชนจำนวนมาก หยุดเชื่อว่าวงกลมปริศนาเหล่านี้ถูกทำขึ้นโดยมนุษย์ หลายคนพบว่านี่มันน่าสนุกมากกว่า ความเป็นไปได้ที่จะไขปริศนาที่เกิดขึ้นในท้องทุ่ง ดังนั้น ดั๊กและเดฟ ‘ได้ต้มตุ๋นลวงโลก’ สำเร็จลุล่วงไปแล้ว – แม้ว่าจะไม่ใช่ในแบบที่คนส่วนใหญ่จะคิดกันก็ตามที!
หลังจากที่พวกเขาได้เกษียณแล้ว ทุ่งวงปริศนาก็ยังคงปรากฏขึ้นอย่างที่เคยเป็นมาในปี ค.ศ.1991 - แต่ไม่เป็นที่สนใจเท่าไหร่นักต่อผู้สื่อข่าวอีกต่อไป
3. วิวัฒนาการของวงกลมปริศนา
เมื่อดั๊กและเดฟได้กล่าวอ้างว่าได้สร้างวงกลมปริศนาอันมหัศจรรย์เพื่อที่จะล้อเล่นในปีค.ศ. 1978 นั้น พวกเขาไม่เคยรู้เลยว่ามีเอกสารข้อมูลกว่า 300 ชิ้นที่มีมาก่อนการค้นพบความสามารถของพวกเขา มีรายงานเป็นระยะๆเกี่ยวกับทุ่งวงปริศนาที่ถูกค้นพบในประเทศอังกฤษตลอดศตวรรษที่ 20 แต่รายงานดังกล่าวจริงๆแล้วมีย้อนกลับไปถึงหลายร้อยปีก่อนหน้านั้นเสียอีก
ในความเชื่อพื้นบ้านของศตวรรษที่ 16 และ 17 เราพบเรื่องราวเกี่ยวกับทุ่งหญ้าและเผ่าเอลฟ์ที่เต้นรำอยู่ในทุ่งกว้างและทิ้งรอยเหยียบย่ำบนหญ้าเป็นวงกลม ภาพสัญลักษณ์ตัวแทนของทุ่งวงปริศนาที่เกิดขึ้นเริ่มแรกสุดได้พบในไม้แกะสลักในปีค.ศ. 1678 ซึ่งภาพแสดงถึง ‘ปีศาจดายหญ้า’ กำลังเก็บเกี่ยวข้าวโอ๊ตจนแบนราบไปเป็นรูปวงกลม เรื่องราวที่เป็นที่มาของรูปสลักดังกล่าวก็คือ ชาวนาปฏิเสธที่จะจ่ายในจำนวนที่ผู้เก็บเกี่ยวเรียกร้อง และบ่นงึมงำว่าเขายอมให้ปีศาจเอาข้าวโอ๊๊ตของเขาไปเสียดีกว่า
ในระหว่างกลางคืนที่มีแสงและเสียงแปลกๆให้ได้เห็นและได้ยิน และเช้าต่อมา ชาวนาได้พบว่าบางส่วนของทุ่งไร่ของเขาล้มลงเป็นรูปวงกลมอย่างสวยงาม
ในปีค.ศ. 1686 นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ โรเบิร์ต พล็อต ได้ตีพิมพ์หนังสือชื่อ ประวัติศาสตร์ทางธรรมชาติแห่งแสตปฟอร์ดชายน์ ซึ่งรวบรวมพื้นที่รูปทรงเรขาคณิต ของพืชแบนราบที่พบในทั้งทุ่งเพาะปลูกและทุ่งเลี้ยงสัตว์ เขารายงานว่าเนื้อดินภายใต้บริเวณนั้นร่วนซุยและแห้งกว่างปกติ และมีส่วนขาวซีดๆเหม็นอับหรือคราบน้ำค้างแข็ง ‘คล้ายๆเนื้อเชื้อราขนมปัง’ พบได้ที่พืชในบางครั้ง
เขาสร้างสมมติฐานว่ารูปแบบถูกสร้างขึ้นโดยแสงที่ประทุขึ้นจากกลุ่มหมอกควัน ในเดือนกรกฎาคม ปีค.ศ. 1880 วารสารทางวิทยาศาตร์ธรรมชาติได้ตีพิมพ์จดหมายจากนักวิทยาศาสตร์ผู้ซึ่งอธิบายถึงการค้นพบบริเวณพื้นที่รูปวงกลมที่เกิดจากต้นข้าวสาลีล้มในไร่แห่งหนึ่งทางตอนใต้ของประเทศอังกฤษ
เขาเห็นว่าสิ่งเหล่านี้เป็นผลพวงมาจาก ‘แรงลมพายุหมุนไซโคลน’
นับแต่ปลายปีค.ศ. 1970 ตัวเลขของวงกลมปริศนาได้เพิ่มขึ้นอย่างมากมาย โดยเฉพาะในทางตอนใต้ของประเทศอังกฤษบริเวณวิวเชอร์สและแฮมป์เชียร์ส ทั้งนี้รูปแบบก็ได้เริ่มมีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้นอีกด้วย รูปวงกลมแต่ละอันได้หมุนและสร้างให้เกิดวงกลมจำนวนมากขึ้น และบางครั้งได้ถูกจัดสร้างขึ้นแบบเจาะจง วงกลมห้าวงอันแรก (วงกลมที่ล้อมรอบด้วยวงกลมเล็กกว่าสี่วง มีระยะห่างเท่าๆกัน คล้ายการโคจรของดาวเทียม) ปรากฏขึ้นในปีค.ศ. 1978 ในเวลาต่อมา วงกลมห้าวง ก็ได้ปรากฏขึ้นพร้อมด้วยวงแหวนที่เชื่อมดาวเทียมอันนอก รวมเป็นรูป ‘ไม้กางเขนล้อมด้วยวงกลม’
วงกลมปริศนาที่มีวงแหวนหลายๆวงเป็นศูนย์กลางรอบๆ ก็เริ่มจะปรากฏให้เห็นขึ้น
Fig. 3.3 A quintuplet, Beckhampton, Wiltshire, 3 August 1988
Fig. 3.4 Triple ringer, Warminster, Wiltshire, July 1990.
Note the seemingly randomly-placed mini-circles or 'grapeshot', a common feature in the early days.
ปีค.ศ.1990 เราได้เห็นภาพสัญลักษณ์อันแรก ที่ประกอบด้วยวงกลม วงแหวน สี่เหลี่ยมผืนผ้า เส้นตรง และสามง่าม ร้อยเรียงต่อกัน และรูป ‘กุญแจ’ ‘กรงเล็บ’ ส่วนรูป ปลาวาฬ/ปลาโลมา และรูปแมลงวัน ก็เริ่มเป็นที่ปรากฏในปีต่อๆมา สัญญลักษณ์ภาพในทุ่งไร่นับจากปีค.ศ. 1994 ก็รวมถึง ‘ภาพกล่องความคิด’ ซึ่งเกิดจากรวมรูปพระจันทร์เสี้ยวเข้าไปสู่รูปภาพคล้ายๆแมงมุมและแมงป่อง
ในปีนั้นเช่นเดียวกัน เราได้เห็นทุ่งไร่ีีที่มีรูปเกี่ยวกับดวงดาว ซึ่งรวมถึงกาแล็คซี วงแหวนดาวเคราะห์ และวงโคจรดาวเคราะห์ทั้งหลาย ตั้งแต่ปลายปีทศวรรษที่ 1990 รูปแบบก็ได้พัฒนาขึ้นไปจนมีความซับซ้อนอย่างเหลือเชื่อและอัศจรรย์ใจยิ่งนักในทางด้านรูปทรงเรขาคณิตต่างๆ หรือ ภาพวงกลมแมนดาลา รูปทรงเรขาคณิตเจ็ดส่วน ก็ปรากฏขึ้นเป็นครั้งแรกในปีค.ศ. 1998 ส่วนรูปทรงเรขาคณิตเก้าส่วน ก็พบในปีค.ศ. 1999 และรูปทรงเรขาคณิตสิบเอ็ดส่วน ก็พบเจอในปีค.ศ. 2000
ตั้งแต่ปีค.ศ. 1999 รูปสัญลักษณ์ในทุ่งไร่หลายแห่งได้สร้างขึ้นเป็นภาพลักษณะสามมิติ
Fig. 3.5 Alton Barnes, Wiltshire, 11 July 1990.
This huge pictogram gained worldwide publicity and attracted thousands of visitors.
โดยรวม วงกลมปริศนาจำนวนมากกว่า 10,000 แห่งได้ถูกบันทึกไว้ทั่วโลก ในจำนวนนี้มีมากกว่า 700 แห่งที่ปรากฏในปีค.ศ. 1991 โดย 229 แห่งได้ถูกรายงานจากทั่วโลกในปีค.ศ.2004 และ 33.9%ของทั้งหมดนี้ก็ปรากฏในประเทศอังกฤษ ที่ซึ่งดูเหมือนว่าวงกลมปริศนาจะปรากฏขึ้นรอบๆบริเวณกองหินศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย อาทิเช่น กองหินสโตนเฮ้นจ์ อัฟเบอรี่ และเขาซิลเบอรี่
ประเทศอื่นที่พบเจอทุ่งวงปริศนาก็ได้แก่ เยอรมัน (13.2%) สหรัฐอเมริกา (9.2%) สาธารณรัฐเชค (8.4%) และอิตาลี (8.4%)
Fig. 3.6 The ‘Tetrahedron’, Barbury Castle, Wiltshire, 17 July 1991.
The day after it appeared, a British newspaper ran a photo of the design with the headline, ‘Now explain this one’.
Fig. 3.7 ‘Scorpion’ or ‘dragonfly’, Bishops Cannings, Wiltshire, 15 July 1994.
Fig. 3.8 Galaxy design, West Stowell, Wiltshire, 23 July 1994.
It has been interpreted as showing a conjunction of planets in the constellation Cetus that occurred in April 2000.
Fig. 3.9 ‘Spiderweb’, Avebury, Wiltshire, 11/12 August 1994.
The shimmering effect is created by the crop being laid in opposing directions.
Fig. 3.10 Solar system glyph, Longwood Warren, Hampshire, 22 June 1995.
It depicts the Sun, Mercury, Venus, the Earth’s orbit, Mars, and Jupiter’s orbit.
According to Gerald Hawkins, it shows a planetary alignment that occurred on 6 November 1903,
the day the Wright brothers proved that man could fly, and again on 11 July 1971, during Mariner 9’s journey to Mars.
Fig. 3.11 ‘Julia Set’, Stonehenge, Wiltshire, 7 July 1996.
This 115-metre-wide spiral of 151 circles appeared in broad daylight in full view of a busy road,
just opposite Stonehenge, within a 15-minute time-window (according to testimony from pilots,
a farmer, a security guard, and motorists calling the police).
A professional surveying engineer said it would take him about two full days to lay out the design.
Fig. 3.12 ‘Koch fractal’, Milk Hill, Wiltshire, 8 August 1997.
Two engineering firms estimated that staking out the 346 reference points required
to construct the design prior to flattening the wheat would take 6.5 to 7.5 days, or 11 days if done under cover of darkness.
Yet the formation had definitely appeared overnight.
Fig. 3.13 The ‘Flower’ and ‘Grid square’ appeared on the same night, Etchilhampton, Wiltshire, 1 August 1997.
The square within the circle is gridded with 28 by 25 narrow, ruler-straight channels.
Fig. 3.14 Hackpen Hill, Wiltshire, 4 July 1999.
Fig. 3.15 3-D ‘ribbon’, Beckhampton, Wiltshire, 28 July 1999.
Fig. 3.16 14-pointed star, Roundway, Wiltshire, 31 July 1999.
Fig. 3.17 ‘Magnetic fields’, Avebury Trusloe, Wiltshire, 22 July 2000.
Fig. 3.18 ‘The angel’, Great Shelford, Cambridgeshire, 25 July 2001.
Fig. 3.19 Ribbon design, Stonehenge, Wiltshire, 4 July 2002.
Fig. 3.20 Petal design, West Overton, 21 May 2003.
The plants in this glyph had been gently brushed over into a near-vertical position, so that from the air the formation is barely visible.
As the undamaged plants recovered and rose towards their normal, upright position,
they did so in alternate bundles, producing a rippling, standing-wave pattern.
Fig. 3.21 Hackpen Hill, Wiltshire, 20 July 2003.
Fig. 3.22 Huish, Wiltshire, 20 July 2003.
Fig. 3.23 North Down, Wiltshire, 10 August 2003.
21 ก.พ. 56 เวลา 10:48 2,123
กรุณา
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความคิดเห็น
เรื่องอื่นๆ ที่น่าสนใจ