สายตาเอียงเป็นอย่างไร มาคลายสงสัยกัน

 

 

 

 

 

สายตาเอียงเป็นอย่างไร มาคลายสงสัยกัน

 

 

 

ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพสายตา ไขคำถามคาใจของปัญหาสายตาเอียง พบที่เข้าใจกันอยู่ทุกวันนี้ มีทั้งถูก-ผิด

หากพูดถึงปัญหาสายตาเอียง (Astigmatism) มีคนจำนวนไม่น้อยที่ยังเข้าใจผิด และมีคำถามคาใจมากมาย ครั้งนี้มุมสุขภาพมีข้อเท็จจริงจากฝ่ายวิชั่นแคร์ ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพตา ของจอห์นสัน แอนด์ จอห์นสัน (ประเทศไทย) มาไขข้อสงสัยใน 7 ข้อควรรู้เกี่ยวกับปัญหาสายตาเอียง

เริ่มจาก สายตาเอียงเป็นอย่างไร มา “คนสายตาเอียงต้องใส่แว่นสายตาเพียงอย่างเดียว” ข้อมูลจากฝ่ายวิชั่นแคร์ ระบุว่า สายตาเอียงเป็นอย่างไร มา”ไม่จริง” แม้หลายคนเชื่อว่า แว่นสายตา คือคำตอบเดียวสำหรับผู้มีปัญหาสายตาเอียง แต่ในปัจจุบันมีคอนแทคเลนส์ที่พัฒนาและผลิตขึ้นมาพิเศษสำหรับคนกลุ่มนี้ โดยเฉพาะคอนแทคเลนส์รายวันสำหรับสายตาเอียงที่ไม่เพียงช่วยแก้ไขค่าสายตาเท่านั้น ยังให้ความรู้สึก ชุ่มชื้นสบายตา สะดวกสบาย และสะอาดถูกสุขอนามัยในการสวมใส่ ช่วยให้ผู้ที่มีปัญหาสายตาเอียง สามารถใช้ชีวิตได้อย่างเต็มที่ และไม่ต้องคอยกังวลกับผลข้างเคียงต่างๆ ทั้งอาการวิงเวียนและอาการปวดศีรษะอีกต่อไป

สายตาเอียงเป็นอย่างไร มา “ปกติแล้วคนเราไม่เกิดปัญหาสายตาเอียงกันง่ายๆ” ตอบคือ สายตาเอียงเป็นอย่างไร มา “ไม่จริง” เพราะจากสถิติพบว่า จากสถิติพบว่า ร้อยละ 50 ของผู้มีปัญหาสายตา มักมีสายตาเอียง ร่วมอยู่ในค่าสายตาด้วย และที่สำคัญสายตาเอียง ไม่ได้เกิดขึ้นกับผู้ที่มีค่าสายตาเยอะๆ เท่านั้น สายตาเอียงเป็นอาการทางสายตาชนิดหนึ่ง แตกต่างจากสายตาสั้น หรือสายตายาว อธิบายวิธีสังเกตง่ายๆ คือ ผู้ที่มีสายตาสั้น หรือสายตายาว จะมองเห็นตัวเลข ตัวอักษร ชัดเท่าๆ กันทุกตัว หรือมัวเท่าๆ กันทุกตัว แต่ผู้ที่มีสายตาเอียง จะมองเห็นตัวเลข หรือตัวอักษรบางตัวชัด บางตัวไม่ชัด

สายตาเอียงเป็นอย่างไร มา “คนที่สายตาเอียง มักเป็นเพราะนอนอ่านหนังสือ ดูโทรทัศน์ มากเกินไป” ความเข้าใจข้อนี้ก็ สายตาเอียงเป็นอย่างไร มา “ไม่จริง” เนื่องจากสายตาเอียง คือความผิดปกติของสายตาที่เกิดจากความโค้งของกระจกตาในแต่ละแนวไม่เท่ากัน ซึ่งนับเป็นความผิดปกติทางกายภาพ ถือเป็นปัจจัยภายใน และแม้การนอนอ่านหนังสือ ดูโทรทัศน์ในที่มืดบ่อย อาจก่อให้เกิดความเมื่อยล้าของดวงตา เนื่องจากการเพ่งสายตาในระยะเวลานาน แต่ไม่ได้เป็นสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดสายตาเอียง

สายตาเอียงเป็นอย่างไร มา “คนที่สายตาเอียงจะรู้สึกเวียนศีรษะง่าย เมื่อดูโทรทัศน์ 3 มิติ ใช้คอมพิวเตอร์ รวมถึงสมาร์ทโฟนมากเกินไป” ข้อนี้ถือ สายตาเอียงเป็นอย่างไร มา “เป็นเรื่องจริง” เนื่องจากผู้ที่มีสายตาเอียงจะไม่สามารถจับภาพที่มีลักษณะเบลอ รวมถึงภาพที่มีการเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็วได้อย่างชัดเจนนัก

สายตาเอียงเป็นอย่างไร มา “การหรี่ตา คืออีกหนึ่งสัญญาณว่าเราอาจจะมีปัญหาสายตาเอียง” ตอบคือ สายตาเอียงเป็นอย่างไร มา”จริง” เพราะนอกจากจะทำให้สาวๆ เสียบุคลิก การหรี่ตาเป็นประจำยังเป็นอีกหนึ่งสาเหตุของการเกิดริ้วรอยก่อนวัย นอกจากนี้ ผู้ที่ชอบหรี่ตาบ่อยๆ อาจกำลังประสบปัญหาสายตาเอียง เนื่องจากผู้ที่สายตาเอียงจะมองเห็นภาพไม่ชัด จึงมักจะพยายามเพ่งสายตาเพื่อปรับโฟกัสของภาพตามธรรมชาติ ด้วยการหรี่ตานั่นเอง

สายตาเอียงเป็นอย่างไร มา “คนที่มีสายตาเอียงน้อย สามารถทดค่าสายตาได้ โดยไม่จำเป็นต้องแก้ไขสายตาเอียง” ตอบคือ สายตาเอียงเป็นอย่างไร มา “ไม่จริง” หลายคนเชื่อว่าค่าสายตาเอียงเล็กน้อย สามารถแก้ไขได้ด้วยการทดค่าสายตา เช่น สายตาสั้น 900 แต่มีปัญหาสายตาเอียง 200 ก็ใช้วิธีทดค่าสายตา โดยใช้เลนส์แก้ปัญหาสายตาสั้น 950 เพื่อให้เห็นภาพชัดขึ้นและกลบปัญหาสายตาเอียง แต่ในความเป็นจริงแล้ว เมื่อเราใช้สายตามากขึ้น เช่น อ่านหนังสือ ใช้คอมพิวเตอร์ ใช้สมาร์ทโฟน หรือดูทีวี ติดต่อกันเป็นเวลานาน ก็สามารถกระตุ้นให้มองเห็นภาพเบลอ และอาจทำให้เริ่มมึนหัวได้ การทดค่าสายตาจึงไม่ใช่วิธีที่แก้ปัญหาได้เสมอไป

สายตาเอียงเป็นอย่างไร มา “สายตาเอียง ไม่ได้มีผลอะไรมากนักกับชีวิตประจำวัน ไม่ต้องไปสนใจนักก็ได้” ซึ่งทางผู้เชี่ยวชาญตอบว่า สายตาเอียงเป็นอย่างไร มา”ไม่จริง” เพราะหากไม่แก้ไข นอกจากจะทำให้มองเห็นไม่ชัดเจน อาจก่อให้เกิดอาการเมื่อยล้าสายตา เวียนหัว ปวดศีรษะ และแน่นอนว่าอาการเหล่านี้มีผลกระทบโดยตรงกับชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นการทำงาน ตลอดจนการเดินทางขับรถ โดยเฉพาะช่วงกลางคืน ที่สายตาจะไม่สามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจนนัก

อย่างไรก็ตาม ผู้ที่มีปัญหาสายตาเอียงควรตรวจวัดระดับสายตาที่โรงพยาบาลหรือสถานบริการตรวจวัดสายตาชั้นนำอย่างสม่ำเสมอ เพื่อตรวจหาค่าสายตาจริง และหาทางแก้ไขที่ถูกต้องจากผู้เชี่ยวชาญ.

Credit: http://www.tlcthai.com/education/knowledge-online/26392.html
4 ธ.ค. 55 เวลา 17:08 5,132 3 40
แชร์สกู๊ป
กรุณา Login เพื่อแสดงความคิดเห็น
ส่ง Scoop ให้เพื่อน
แจ้งลบไม่เหมาะสม
ความคิดเห็น

เรื่องอื่นๆ ที่น่าสนใจ

Loading...