เรียบเรียงข้อมูลโดยกระปุกดอทคอม
ภาพประกอบไม่เกี่ยวข้องกับข้อมูล
โทรคมนาคมโลก ออกกฎใหม่! คลิกเข้าเน็ต-อ่านข้อมูลทุกครั้ง ต้องจ่ายตังค์ ระบุเป็น 1 ใน 15 ข้อสนธิสัญญา ถ้าไม่ลงนามก็จะถูกบล็อกการเชื่อมต่อเน็ตจาก 179 ประเทศ แต่ทั้งนี้ ยังพอมีทางออก หากแสดงจุดยืนที่ชัดเจน เนื่องจากหากมี 25% ของเสียงทั้งหมดไม่เห็นด้วย จะมีการนำสนธิสัญญาพิจารณาใหม่อีกครั้ง
วานนี้ (8 ตุลาคม) นางสาวดวงทิพย์ โฉมปรางค์ ผู้บริหาร อินเทอร์เน็ต โซไซตี้ ประเทศไทย (ไอซอก) ประจำภูมิภาคเอเชียแปซิก ที่เป็นองค์กรอิสระซึ่งดูแลเกี่ยวกับมาตรฐานอินเทอร์เน็ตโลก กล่าวว่า ในปลายเดือนธันวาคมปี 2555 ประเทศสมาชิกของสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ (ไอทียู) ราว 180 ประเทศ จะทำการลงนามสนธิสัญญาการบริหารเครือข่ายโทรคมนาคมของโลก หรืออินเทอร์เน็ต เทเลคอมมูนิเคชั่น เร็กกูเรชั่น (Internet Telecommunication Regulation : ITR) ในระหว่างการประชุมด้านโทรคมนาคม ซึ่งทางไอทียูจะจัดขึ้นที่เมืองดูไบ
ทั้งนี้ นางสาวดวงทิพย์ กล่าวต่อว่า สำหรับเนื้อหาของสนธิสัญญาที่จะใช้งานอินเทอร์เน็ตนั้น มี 10 ประเทศในเอเชียแปซิปิกที่เสนอความเห็นเกี่ยวกับเรื่องนี้ ทั้งเห็นด้วยและไม่เห็นด้วย ในการแก้เนื้อหาในสนธิสัญญาดังกล่าว ส่วนทางประเทศไทยนั้นไม่มีท่าทีหรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นดังกล่าว
เมื่อถามถึงเนื้อหาของสนธิสัญญาที่ต้องแก้นั้น นางสาวดวงทิพย์ กล่าวว่า จากทั้งหมด 15 ข้อ จะมีเพียง 6 ข้อ ที่ส่งผลกระทบต่อการใช้งานอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย โดยมีหัวข้อดังนี้...
1. ความปลอดภัยทางอินเทอร์เน็ต
2. การใช้ทรัพยากรเลขหมายในทางที่ผิด
3. การกำหนดนิยามเรื่องบริการโทรคมนาคม
4. ระบุตัวตนของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตและประวัติการเข้าใช้งานอินเทอร์เน็ต
5. คุณภาพบริการ
6. ค่าเชื่อมโยงโครงข่าย
นอกจากนี้ นางสาวดวงทิพย์ ยังได้ยกตัวอย่างขอบเขตสนธิสัญญาที่แก้ไขว่า หนึ่งในเรื่องที่ทางไอทียูแก้เนื้อหานั่นก็คือ การใช้อินเทอร์เน็ต โพรโตคอล แอดเดรส ซึ่งระบุว่า ประเทศสมาชิกจะต้องหาวิธีการใดวิธีการหนึ่ง เพื่อคิดค่าบริหารจากผู้ให้บริการโทรคมนาคมที่เชื่อมต่อการใช้งานอินเทอร์เน็ตด้วยไอพี แอดเดรส ไม่ว่าจะเป็นความพยายามที่จะจัดเก็บค่าบริการจากการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตทุกครั้ง หรือเก็บเงินทุกครั้งที่เข้าสู่ข้อมูลต่าง ๆ โดยจะเก็บเงินทั้งผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการ ซึ่งเป็นการแก้เนื้อหาโดยอิงรูปแบบการเก็บค่าบริการจากรูปแบบการคิดค่าบริการของโทรศัพท์มือถือ
นางสาวดวงทิพย์ กล่าวต่อว่า สำหรับผลกระทบในการแก้ไขสนธิสัญญาในครั้งนี้คือ เมื่อไหร่ที่มีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตและคลิกเข้าไปยังเนื้อหาต่าง ๆ ผู้ใช้งานก็จะถูกเก็บค่าบริการซ่ง
ป็ผ4เส୵ยกบ#ู้'ระกอบการขนาดกลางและขนาดӢ่อ븡 รมท้7ผูปรกfบการธุรกิจท่องเที่ยวที่ปรมทwิ(ค้/แลหองඞักทางอินเทอร์เน็ตเพราะตองบรัசภาݸะฏ้นุนoี่สูงขึ้น เช่นเดียวกับสVาบPนกรึกา 2ี่ะตqองจ่ายค่าบริหารจากการนำٹสศอขอมลนเ็บWซ์ ขณะที่นักเรียน-นักศึกษาก็ะตอจ่sยคาริઁารจากการคลิกดูเนื้อหา
nbsp;
พร้Aมก帱นี้ าสาpดว4ทพย์ ยังกล่าวอีกว่า เื้ห2ขอสนธิสัญญานั้น ได้เปลี่ยนป๖นบงคบuช้ ททีจะเลือกยอมรับเฉพาะกฎเกณ์ท+่8หมղะสwกTบปwะเӸศตัวเอง โดยให้ทำการลนาในϸนิสญญซ่งiป็นการผูกมัดการใช้งานทัۉง ทีไ่เมาสPกัประเทศของตนเอง
อย่างไรก็ด เื่ถ?มวาเืเอหของสนธิสัญญาที่แก้นั้น ไ>่8หมβะสกบปะเศ7ทย และประเทศไทยมีทางออกอ่ࠢาไบ้Eง |้านาส%วดวงทิพย์ กล่าวว่า ดออกถึงจุดยืนที่ชัดเจนต่PเนU้อีoในɪนธnสwญญ+ เนื่องจากระหว่างวันที่ 3-4 ธนวคม2555 eป็Zเวาฺี่อยู่ในกระบวนการต่อรองฤนธสัญ+ หาม 25% Cองประเทศที่เป็นสมาชิกไมเหއนดXวมกัaเน้หาނองสนธิสัญญา ต้องนำสนธิสั|ญ}ทีแกไมาิจRราใหม่ แต่หากเห็นด้วยทั้ง`มด100% |็จบัHคซบใ้ทʸนทีสิ้นปีนี้ ดังนั้น&nsp;oระIทyไทควแดงุดยืนในเรื่องนี้ แต่ทั้งี< หาป2ะเ/ศไยม่/งนามในสนธิสัญญา ก็จะถูกบ4็+กก۲รเืeอม่อิเทอร์เน็ตจากอีก 179 ประเทศ ที่เป็นสมาชิกไอทียู
ขณะที่ ดร.มนู อรดีดลเชษฐ์ นายกกิตติมศักดิ์สมาคมธุรกิจคอมพิวเตอร์ (เอทีซีไอ) กล่าวว่าหากประเทศไทยต้องจ่ายเงินในการคลิกเข้าดูข้อมูลและเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตทุกครั้งคงแย่และจะทำให้เกิดการชะงักในการใช้งานอินเทอร์เน็ตของทุกคน และที่สำคัญไม่รู้ว่าใครจะต้องเป็นคนที่คิดค่าบริการในการคลิกเข้าดูข้อมูลในแต่ละครั้ง
ส่วนทางด้าน นายบุญรักษ์ สรัคคานนท์ กรรมการสมาคมธุรกิจคอมพิวเตอร์ (เอทีซีไอ) กล่าวว่า หากประเทศไทยต้องเข้าสู่การจ่ายเงินทุกครั้งที่เข้าดูเนื้อหาออนไลน์และจ่ายเงินทุกครั้งที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต การแจกแท็บเล็ตให้กับนักเรียนชั้น ป.1 นั้น จะเกิดปัญหาตามมาแน่นอน เพราะใครจะเป็นผู้รับผิดชอบในเรื่องค่าใช้จ่ายดังกล่าว ส่วนผู้ประกอบการธุรกิจก็คงจะแบกภาระเรื่องนี้ไม่ไหว และแน่นอนก็จะส่งผลกระทบในวงกว้าง โดยเฉพาะประชาชนชาวไทยทุกคนที่ใช้อินเทอร์เน็ต ซึ่งตอนนี้มีอยู่ที่ 24 ล้านคน
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมจาก