จะทำอย่างไรถ้าคนในครอบครัวคิดฆ่าตัวตาย
ก่อน อื่น คุณจำเป็นจะต้องเข้าไปพูดจาสอบถามถึงเรื่องที่เขากำลังกลุ้มใจอยู่ โดยแสดงความจริงใจว่าคุณอยากช่วยเหลือเขาจริง ๆ และสร้างความมั่นใจว่าจะเก็บเรื่องของเขาเป็นความลับจะไม่เอาไปบอกใครเด็ด ขาด และคุณจะอยู่เคียงข้างเขา ช่วยเขาต่อสู้กับปัญหา จะไม่ทอดทิ้งให้เขาเผชิญปัญหาอย่างเดียวดาย จากนั้น ควรเปิดโอกาสให้เขาได้พูดระบายความอัดอั้นในใจออกมาให้มากที่สุด โดยคุณต้องรับฟังอย่างเห็นใจ อย่าไปขัดคอหรือดุว่า ติเตียนเขาว่า "ทำไมจึงคิดสั้นอย่างนี้" "เป็นความคิด ที่โง่ที่สุดที่ทำเช่นนั้น" เป็นต้น เพราะการพูดเช่นนี้จะเพิ่มความกดดันให้เขายิ่งอยากตายมากขึ้น ดัง นั้น ก่อนจะให้ความช่วยเหลือด้วยคำพูดใด ๆ คุณต้องเข้าใจว่าเขากำลังเผชิญกับความทุกข์ ต้องการระบายความกดดันต่าง ๆ ภายในจิตใจออกมาให้ผู้อื่นได้รับรู้ และต้องการความเห็นใจ ควรเปิดโอกาสให้เขาได้เล่าระบายสิ่งที่เป็นความทุกข์ใจของเขาออกมาให้มากที่ สุด จนอารมณ์สงบลง จากนั้นให้คุณค่อย ๆ พูดให้เขารู้สึกอยากมีชีวิตอยู่ต่อไปเพื่อคนที่เขารัก เช่น พูดว่าขอให้นึกถึงลูก ถ้าเขาเป็นอะไรไปลูกเขาคงลำบาก เป็นต้น การพูดถึงคนในครอบครัวจะทำให้เขาฉุกคิดขึ้นมาและลดความคิดที่จะทำร้ายตนเอง ได้ หลังจากนั้นให้คุณพยายามกระตุ้นให้ เขาคิดถึงข้อดีและความสามารถของเขา เช่น อาจพูดว่า สมัยก่อนที่เขาเผชิญปัญหายุ่งยากใจแบบเดียวกันนี้ เขาแก้ปัญหานั้นอย่างไร เป็นต้น การพูดถึงข้อดีและความสามารถต่าง ๆ ของเขาจะทำให้เขารู้สึกมีคุณค่าในตนเองมากขึ้น และเลิกล้มความคิดที่จะฆ่าตัวตาย
หาก คุณพบว่าคนใกล้ชิดมีเรื่องกลุ้มใจมาก มีอารมณ์ซึมเศร้า ผิดหวัง ท้อแท้ในชีวิต และบางครั้งบ่นอยากตายแล้วละก็ ถือว่าเป็นสัญญาณอันตรายที่คุณต้องรีบให้ความช่วยเหลือโดยเร่งด่วน
ก่อน อื่น คุณจำเป็นจะต้องเข้าไปพูดจาสอบถามถึงเรื่องที่เขากำลังกลุ้มใจอยู่ โดยแสดงความจริงใจว่าคุณอยากช่วยเหลือเขาจริง ๆ และสร้างความมั่นใจว่าจะเก็บเรื่องของเขาเป็นความลับจะไม่เอาไปบอกใครเด็ด ขาด และคุณจะอยู่เคียงข้างเขา ช่วยเขาต่อสู้กับปัญหา จะไม่ทอดทิ้งให้เขาเผชิญปัญหาอย่างเดียวดาย จากนั้น ควรเปิดโอกาสให้เขาได้พูดระบายความอัดอั้นในใจออกมาให้มากที่สุด โดยคุณต้องรับฟังอย่างเห็นใจ อย่าไปขัดคอหรือดุว่า ติเตียนเขาว่า "ทำไมจึงคิดสั้นอย่างนี้" "เป็นความคิด ที่โง่ที่สุดที่ทำเช่นนั้น" เป็นต้น เพราะการพูดเช่นนี้จะเพิ่มความกดดันให้เขายิ่งอยากตายมากขึ้น ดัง นั้น ก่อนจะให้ความช่วยเหลือด้วยคำพูดใด ๆ คุณต้องเข้าใจว่าเขากำลังเผชิญกับความทุกข์ ต้องการระบายความกดดันต่าง ๆ ภายในจิตใจออกมาให้ผู้อื่นได้รับรู้ และต้องการความเห็นใจ ควรเปิดโอกาสให้เขาได้เล่าระบายสิ่งที่เป็นความทุกข์ใจของเขาออกมาให้มากที่ สุด จนอารมณ์สงบลง จากนั้นให้คุณค่อย ๆ พูดให้เขารู้สึกอยากมีชีวิตอยู่ต่อไปเพื่อคนที่เขารัก เช่น พูดว่าขอให้นึกถึงลูก ถ้าเขาเป็นอะไรไปลูกเขาคงลำบาก เป็นต้น การพูดถึงคนในครอบครัวจะทำให้เขาฉุกคิดขึ้นมาและลดความคิดที่จะทำร้ายตนเอง ได้ หลังจากนั้นให้คุณพยายามกระตุ้นให้ เขาคิดถึงข้อดีและความสามารถของเขา เช่น อาจพูดว่า สมัยก่อนที่เขาเผชิญปัญหายุ่งยากใจแบบเดียวกันนี้ เขาแก้ปัญหานั้นอย่างไร เป็นต้น การพูดถึงข้อดีและความสามารถต่าง ๆ ของเขาจะทำให้เขารู้สึกมีคุณค่าในตนเองมากขึ้น และเลิกล้มความคิดที่จะฆ่าตัวตาย
หาก คุณพบว่าคนใกล้ชิดมีเรื่องกลุ้มใจมาก มีอารมณ์ซึมเศร้า ผิดหวัง ท้อแท้ในชีวิต และบางครั้งบ่นอยากตายแล้วละก็ ถือว่าเป็นสัญญาณอันตรายที่คุณต้องรีบให้ความช่วยเหลือโดยเร่งด่วน
ก่อน อื่น คุณจำเป็นจะต้องเข้าไปพูดจาสอบถามถึงเรื่องที่เขากำลังกลุ้มใจอยู่ โดยแสดงความจริงใจว่าคุณอยากช่วยเหลือเขาจริง ๆ และสร้างความมั่นใจว่าจะเก็บเรื่องของเขาเป็นความลับจะไม่เอาไปบอกใครเด็ด ขาด และคุณจะอยู่เคียงข้างเขา ช่วยเขาต่อสู้กับปัญหา จะไม่ทอดทิ้งให้เขาเผชิญปัญหาอย่างเดียวดาย จากนั้น ควรเปิดโอกาสให้เขาได้พูดระบายความอัดอั้นในใจออกมาให้มากที่สุด โดยคุณต้องรับฟังอย่างเห็นใจ อย่าไปขัดคอหรือดุว่า ติเตียนเขาว่า "ทำไมจึงคิดสั้นอย่างนี้" "เป็นความคิด ที่โง่ที่สุดที่ทำเช่นนั้น" เป็นต้น เพราะการพูดเช่นนี้จะเพิ่มความกดดันให้เขายิ่งอยากตายมากขึ้น ดัง นั้น ก่อนจะให้ความช่วยเหลือด้วยคำพูดใด ๆ คุณต้องเข้าใจว่าเขากำลังเผชิญกับความทุกข์ ต้องการระบายความกดดันต่าง ๆ ภายในจิตใจออกมาให้ผู้อื่นได้รับรู้ และต้องการความเห็นใจ ควรเปิดโอกาสให้เขาได้เล่าระบายสิ่งที่เป็นความทุกข์ใจของเขาออกมาให้มากที่ สุด จนอารมณ์สงบลง จากนั้นให้คุณค่อย ๆ พูดให้เขารู้สึกอยากมีชีวิตอยู่ต่อไปเพื่อคนที่เขารัก เช่น พูดว่าขอให้นึกถึงลูก ถ้าเขาเป็นอะไรไปลูกเขาคงลำบาก เป็นต้น การพูดถึงคนในครอบครัวจะทำให้เขาฉุกคิดขึ้นมาและลดความคิดที่จะทำร้ายตนเอง ได้ หลังจากนั้นให้คุณพยายามกระตุ้นให้ เขาคิดถึงข้อดีและความสามารถของเขา เช่น อาจพูดว่า สมัยก่อนที่เขาเผชิญปัญหายุ่งยากใจแบบเดียวกันนี้ เขาแก้ปัญหานั้นอย่างไร เป็นต้น การพูดถึงข้อดีและความสามารถต่าง ๆ ของเขาจะทำให้เขารู้สึกมีคุณค่าในตนเองมากขึ้น และเลิกล้มความคิดที่จะฆ่าตัวตาย
หาก คุณพบว่าคนใกล้ชิดมีเรื่องกลุ้มใจมาก มีอารมณ์ซึมเศร้า ผิดหวัง ท้อแท้ในชีวิต และบางครั้งบ่นอยากตายแล้วละก็ ถือว่าเป็นสัญญาณอันตรายที่คุณต้องรีบให้ความช่วยเหลือโดยเร่งด่วน
ก่อน อื่น คุณจำเป็นจะต้องเข้าไปพูดจาสอบถามถึงเรื่องที่เขากำลังกลุ้มใจอยู่ โดยแสดงความจริงใจว่าคุณอยากช่วยเหลือเขาจริง ๆ และสร้างความมั่นใจว่าจะเก็บเรื่องของเขาเป็นความลับจะไม่เอาไปบอกใครเด็ด ขาด และคุณจะอยู่เคียงข้างเขา ช่วยเขาต่อสู้กับปัญหา จะไม่ทอดทิ้งให้เขาเผชิญปัญหาอย่างเดียวดาย จากนั้น ควรเปิดโอกาสให้เขาได้พูดระบายความอัดอั้นในใจออกมาให้มากที่สุด โดยคุณต้องรับฟังอย่างเห็นใจ อย่าไปขัดคอหรือดุว่า ติเตียนเขาว่า "ทำไมจึงคิดสั้นอย่างนี้" "เป็นความคิด ที่โง่ที่สุดที่ทำเช่นนั้น" เป็นต้น เพราะการพูดเช่นนี้จะเพิ่มความกดดันให้เขายิ่งอยากตายมากขึ้น ดัง นั้น ก่อนจะให้ความช่วยเหลือด้วยคำพูดใด ๆ คุณต้องเข้าใจว่าเขากำลังเผชิญกับความทุกข์ ต้องการระบายความกดดันต่าง ๆ ภายในจิตใจออกมาให้ผู้อื่นได้รับรู้ และต้องการความเห็นใจ ควรเปิดโอกาสให้เขาได้เล่าระบายสิ่งที่เป็นความทุกข์ใจของเขาออกมาให้มากที่ สุด จนอารมณ์สงบลง จากนั้นให้คุณค่อย ๆ พูดให้เขารู้สึกอยากมีชีวิตอยู่ต่อไปเพื่อคนที่เขารัก เช่น พูดว่าขอให้นึกถึงลูก ถ้าเขาเป็นอะไรไปลูกเขาคงลำบาก เป็นต้น การพูดถึงคนในครอบครัวจะทำให้เขาฉุกคิดขึ้นมาและลดความคิดที่จะทำร้ายตนเอง ได้ หลังจากนั้นให้คุณพยายามกระตุ้นให้ เขาคิดถึงข้อดีและความสามารถของเขา เช่น อาจพูดว่า สมัยก่อนที่เขาเผชิญปัญหายุ่งยากใจแบบเดียวกันนี้ เขาแก้ปัญหานั้นอย่างไร เป็นต้น การพูดถึงข้อดีและความสามารถต่าง ๆ ของเขาจะทำให้เขารู้สึกมีคุณค่าในตนเองมากขึ้น และเลิกล้มความคิดที่จะฆ่าตัวตาย
หาก คุณพบว่าคนใกล้ชิดมีเรื่องกลุ้มใจมาก มีอารมณ์ซึมเศร้า ผิดหวัง ท้อแท้ในชีวิต และบางครั้งบ่นอยากตายแล้วละก็ ถือว่าเป็นสัญญาณอันตรายที่คุณต้องรีบให้ความช่วยเหลือโดยเร่งด่วน
ก่อน อื่น คุณจำเป็นจะต้องเข้าไปพูดจาสอบถามถึงเรื่องที่เขากำลังกลุ้มใจอยู่ โดยแสดงความจริงใจว่าคุณอยากช่วยเหลือเขาจริง ๆ และสร้างความมั่นใจว่าจะเก็บเรื่องของเขาเป็นความลับจะไม่เอาไปบอกใครเด็ด ขาด และคุณจะอยู่เคียงข้างเขา ช่วยเขาต่อสู้กับปัญหา จะไม่ทอดทิ้งให้เขาเผชิญปัญหาอย่างเดียวดาย จากนั้น ควรเปิดโอกาสให้เขาได้พูดระบายความอัดอั้นในใจออกมาให้มากที่สุด โดยคุณต้องรับฟังอย่างเห็นใจ อย่าไปขัดคอหรือดุว่า ติเตียนเขาว่า "ทำไมจึงคิดสั้นอย่างนี้" "เป็นความคิด ที่โง่ที่สุดที่ทำเช่นนั้น" เป็นต้น เพราะการพูดเช่นนี้จะเพิ่มความกดดันให้เขายิ่งอยากตายมากขึ้น ดัง นั้น ก่อนจะให้ความช่วยเหลือด้วยคำพูดใด ๆ คุณต้องเข้าใจว่าเขากำลังเผชิญกับความทุกข์ ต้องการระบายความกดดันต่าง ๆ ภายในจิตใจออกมาให้ผู้อื่นได้รับรู้ และต้องการความเห็นใจ ควรเปิดโอกาสให้เขาได้เล่าระบายสิ่งที่เป็นความทุกข์ใจของเขาออกมาให้มากที่ สุด จนอารมณ์สงบลง จากนั้นให้คุณค่อย ๆ พูดให้เขารู้สึกอยากมีชีวิตอยู่ต่อไปเพื่อคนที่เขารัก เช่น พูดว่าขอให้นึกถึงลูก ถ้าเขาเป็นอะไรไปลูกเขาคงลำบาก เป็นต้น การพูดถึงคนในครอบครัวจะทำให้เขาฉุกคิดขึ้นมาและลดความคิดที่จะทำร้ายตนเอง ได้ หลังจากนั้นให้คุณพยายามกระตุ้นให้ เขาคิดถึงข้อดีและความสามารถของเขา เช่น อาจพูดว่า สมัยก่อนที่เขาเผชิญปัญหายุ่งยากใจแบบเดียวกันนี้ เขาแก้ปัญหานั้นอย่างไร เป็นต้น การพูดถึงข้อดีและความสามารถต่าง ๆ ของเขาจะทำให้เขารู้สึกมีคุณค่าในตนเองมากขึ้น และเลิกล้มความคิดที่จะฆ่าตัวตาย
หาก คุณพบว่าคนใกล้ชิดมีเรื่องกลุ้มใจมาก มีอารมณ์ซึมเศร้า ผิดหวัง ท้อแท้ในชีวิต และบางครั้งบ่นอยากตายแล้วละก็ ถือว่าเป็นสัญญาณอันตรายที่คุณต้องรีบให้ความช่วยเหลือโดยเร่งด่วน
ขอบคุณ : suicidethai.com
Credit:
ที่นี่ดอดคอม