ผลงานของช่างภาพจากนิตยสาร Times คือ Daniel Berehulak
และ Mark Magnier ตามเก็บภาพในเหมืองแร่ในอำเภอ Jaintia Hill
ของอินเดีย ตั้งอยู่ในตะวันออกเฉียงเหนือของ Meghalaya
ช่างภาพทั้งสองพบกับสภาพการใช้แรงงานเด็ก ที่อายุต่ำกว่าเกณฑ์
ที่กฎหมายกำหนดหลายคนในเหมืองแร่ของอินเดีย...
ทำไมพวกเขาถึงได้เลือกจะทำงานในสถานที่อันตรายแบบนี้...?
ความยากจนผลักดันให้แรงงานเด็กทิ้งโรงเรียน ทิ้งหนังสือ...
ก้าวเข้าสู่ตลาดแรงงานผิดกฎหมาย แลกกับค่าแรงราคาถูก
แต่เพื่อความอยู่รอดของครอบครัวและตัวเอง...
เหมือนดังเช่น Shyam Rai ชายหนุ่มวัย 22 จากเนปาลคนนี้
กำลังมุดเข้าไปในอุโมงค์แคบ ๆ ของเหมืองแร่
Prabhat Sinha กับภาระอันหนักอึ้งบนบ่าของเขา...
ก้าวเดินไปบนสะพานไม้แคบ ๆ และไม่มั่นคง ที่เหมืองแร่แห่งหนึ่ง
ในเมือง Khliehriat.
ลิฟต์ที่สร้างขึ้นง่าย ๆ ไว้ให้ขึ้นลง...ลึก 300 ฟุต
ค่าจ้างให้สำหรับการทำเหมืองถ่านหิน lures เด็กจำนวนมาก
ต้องออกจากโรงเรียนและทำงาน
เด็กชายกำลังนำถ่านหินเข้าไปในเครื่องบด...
ฝึกการเลี้ยงตัว...บนสะพานไม้ที่แคบ ๆ และไม่มั่นคง
ไม่รู้เหมือนกันว่าออกจากเหมืองแร่แห่งนี้แล้วสามารถไปเป็๋นนักยิมนาสติก
ได้เลยหรือเปล่า...T_T
Chhai Lyngdoh อายุ 14 ปี กับค่าแรง $5 ต่อวัน...
Anil Basnet อายุ 20 ปี (ซ้าย) กำลังช่วยกันดันรถขนถ่านหิน
ขึ้นมาจากอุโมงค์กับเพื่อน
ลิฟต์...นำคนงานขึ้นมาพักรับประทานอาหารกลางวัน
Prabhat Sinha แบกถ่านหินมาเท...ภาระที่หนักอึ้งบนหลังของเขา
งานการตักถ่านหินลงจากรถ...แรงงานต้องใช้พลั่วตักและเทลงมาข้างล่าง
ถึงเวลาอาหารเที่ยง...จากพื้นข้างล่าง 300 ฟุต
ล้างไม้ล้างมือ...ก่อนไปทานอาหารเที่ยง
สัญญาณสำหรับลิฟต์ของที่นี่ คือ การร้องตะโกนบอกให้คนข้างบนดึงขึ้นไป
ลูก ๆ ของคนงานในเหมืองแร่...กำลังกลับจากโรงเรียน
ถึงเวลาเลิกงาน...กลับบ้านกันแล้ววววว
เวลาพักผ่อน...กับรอยยิ้มของคนงานในเหมืองแร่
ที่ทำได้มากที่สุด คือ การเตร็ดเตร่แถว ๆ เหมือง
Kala Rai, 13, ในชั้นเรียนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ
ที่โรงเรียน Biateraim Presbyterian คริสตจักร
เธอทำงานในเหมืองเป็นเวลาหกเดือน แต่ก็สามารถกลับไปที่โรงเรียนได้
ในบางเวลา....
รถบรรทุก...พาหนะที่จะพาออกจากเหมืองแร่เข้าไปในเมือง
ร้านค้าที่มีบริการในเหมืองแร่...
กับวงพนัน...ที่พบเห็นได้ง่าย ๆ ในเหมืองแร่ทั่วไป