การเดินทางผ่านมิติเวลา

 


[COLOR=#92d050][FONT=Segoe UI][SIZE=5][FONT=Garamond][FONT='Angsana New']

การเดินทางผ่านมิติเวลา เป็นไปได้หรือ ? 

หลายคนคงคิดแบบนั้น แต่ผลของการทดลอง และทฤษฎีดีต่างๆ ทางด้านฟิสิกส์ อย่างทฤษฎีสัมพันธภาพพิเศษ และทฤษฎีสัมพันธภาพทั่วไปของไอน์สไตน์ เปิดช่องให้เราจัดการกับกาลเวลาได้ แม้วันนี้เรายังไม่สามารถ ควบคุมพลังงาน และ มวลสาร ที่นำมาใช้ควบคุมเวลาก็ตามที แต่วันหนึ่ง เราก็ จะไม่ต้องตกเป็นทาสของกาลเวลา 

หลายคนคงงุนงงสงสัยว่า มันจะเป็นได้อย่างไร ลองคิดตามเล่นๆนะ ไอน์สไตน์ เสนอ ทฤษฎีสัมพันธภาพพิเศษโดยอธิบายเข้าใจง่ายๆว่า นาฬิกาเดินทางด้วยความเร็วใกล้แสง จะเดินช้ากว่านาฬิกาฝาแฝดของคนๆนั้นที่หยุดนิ่ง อย่าเพิ่ง งง ^ ^ หรือ คนที่เดินทางด้วยความเร็วใกล้แสง จะแก่ช้ากว่าคนที่ไม่เคลื่อนไหวหยุดนิ่งอยู่กับที่เฉยๆ 

ใช่แว้ว ไม่ใช่แค่ทฤษฎีแต่เป็นความจริง ความเร็วทำให้เวลาช้าลง มีการทดสอบโดยใช้นาฬิกา 2 เรือนอันหนึ่งขึ้นเครื่องบิน Jet ไปเที่ยวรอบโลก อีกเรือน วางไว้เฉยๆอยู่กับที่ ผลปรากฏว่า

นาฬิกาที่วางไว้เฉยๆ บอกเวลาเร็วกว่า นาฬิกาที่ไปเที่ยวรอบโลก


เมื่อคิดดูแล้วถ้าเปรียบกับคนได้ คนที่เคลี่อนไหวร่างกายตลอดเวลาจะแก่ช้ากว่าคนที่อยู่เฉยๆ ขอยกย่องทฤษฎีนี้ ว่าด้วยการแก่ช้า ha ha ha ฉะนั้นอย่ารอช้า มาออกกำลังกายกันดีกว่า นอกเรื่องอีกแล้ว ^ ^! 

ดังนั้นวิธีที่จะสร้างเครื่องจักรเวลาก็คือ หาวิธีเดินทางด้วยความเร็วใกล้แสง สิ่งหนึ่งที่สุดยอดอัจฉริยะอย่างไอน์สไตน์บอกเราไว้คือ ถ้าเราสามารถรวบรวมมวลสารปริมาณมากๆได้ สนามแรงโน้มถ่วงจากตัวมัน จะทำให้เกิดการบิดแบนของอวกาศและเวลา เป็นไปได้อย่างมาก บริเวณที่ความสับสนของกาลเวลาเกิดขึ้น จะเกิดการบิดผันกาลเวลา ทำให้สามารถเดินทางไปได้ทั้งในอดีตและอนาคต ขบวนการนี้จะง่ายขึ้นไปอีก ถ้ามวลสารก้อนนั้น เคลื่อนที่หรือมีประจุไฟฟ้าในตัว 

ความหนาแน่น วัตถุที่หมุนด้วยความเร็วสูงขณะหมุนมันจะค่อยๆยุบตัวลงจนกลายเป็นหลุมดำ ด้วยความเร็วเกือบเท่าความเร็วแสง เสมือนกรณี ที่ดวงดาวกำลังยุบตัวลง วิธีการนี้สามารถอธิบายโดยคณิตศาสตร์โดยจะให้คำตอบแน่นอนสำหรับทฤษฎีของไอน์สไตน์ คำตอบนี้เรียกว่า เคอร์เมตริกซ์ (โดยทฤษฎีของ รอยด์ เคอร์) 


วิธีการทำงานของมัน คือ ทำให้อนุภาคมีพลังงานสูงพอที่จะวิ่งด้วยความเร็วใกล้แสง เพราะ ถ้าไม่ใช้วิธีถ่วงเวลาให้ช้าลง อนุภาคจะมีอายุไม่ถึง 1 ในพันล้านวินาที ทำให้เคลื่อนที่ไปไม่กี่เซนติเมตร การเร่งความเร็ว ทำให้อนุภาคมีอายุยาวนานมากขึ้น จนเดินทางได้เป็นสิบเมตร จากเครื่องกำเนิดหนึ่งไปยังเครื่องตรวจสอบ 

 

ภาพจาก http://www.zamandayolculuk.com/cetinbal/stepworm.htm ขอบคุณฮับ


ถ้าเราสามารถรวบรวมมวลสารได้ปริมาณมากๆ อย่างมหาศาล เราสามารถสร้างความสับสนทางเวลาขึ้นได้ ความหนาแน่นของมัน หมุนด้วยความเร็วสูง เกือบเท่าแสง จะทำให้ตัวของมันยุบตัวกลายเป็นหลุมดำ


คำตอบของเคอร์ อธิบายถึงสนามแรงโน้มถ่วงรอบนอกของมวลสารที่กำลังหมุน และยุบตัวลงด้วยความหนาแน่นสูง เปรียบดาวฤกษ์ขนาดใหญ่ จนเมื่อมันถึงจุดสุดท้ายของชีวิต มันก็จะยุบตัวลงกลายเป็นหลุมดำที่หมุนวน หลุมดำนี้มีลักษณะเป็นอีลิปส์ คือโปร่งตรงกลาง ซึ่งเป็นผลมาจากการหมุนของตัวมันเอง ลองนึกภาพ ห่วงยาง หรือโดนัทที่เรากิน ตรงกลางว่างเปล่าแต่มีความหนาแน่นช่วงวงแหวนของมัน 

ใช่แล้ว ช่องว่างตรงกลางนี่เอง จะเป็นประตูเวลา ถ้าเธอผ่านช่องว่างโดนัทนี้ไปได้ มันจะนำคุณไปสู่ไฮเปอร์สเปส การเดินทางในมิติเวลา แทนที่จะเป็นการเดินทางในมิติอวกาศ 

แต่...


[LEFT][COLOR=#333399][SIZE=2]วิธีนี้ นักคณิตศาสตร์มากมาย บอกว่ามันไม่สามารถเกิดขึ้นได้ ทั้งหมดสรุปว่า ธรรมชาติจะไม่สามารถสร้างลักษณะ การจัดตัวมวลแบบนั้นขึ้นมาได้ มันพาไปสู่ข้อสรุปที่ว่า เครื่องจักรเวลาเป็นสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ พวกเขาใช้ข้อสรุปต่างๆ เหตุผลที่มันไม่สามารถสร้างขึ้นมาได้โดยมีข้อจำกัดต่างๆ เช่น [FONT=Tahoma]

8 มิ.ย. 54 เวลา 18:38 4,797 3 50
แชร์สกู๊ป
กรุณา Login เพื่อแสดงความคิดเห็น
ส่ง Scoop ให้เพื่อน
แจ้งลบไม่เหมาะสม
ความคิดเห็น

เรื่องอื่นๆ ที่น่าสนใจ

Loading...