ประวัติ Youtube (ยูทรูฟ)

   

 



 

ประวัติยูทรูฟ (YouTube)


 

ยูทรูฟ เป็นการดำเนินธุรกิจประเภทที่ได้รับการช่วยเหลือสนับสนุนจาก กูเกิร์ล โดยได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2548 (February 15,2005) บุคคลที่เป็นแกนนำสำคัญ คือ ชาร์ด เฮอร์เลย์ (Chad Hurley) เป็นผู้ก่อตั้งและประธานกรรมการบริหาร (CEO) สตีฟว์ เชน (Steve Chen) เป็นผู้ก่อตั้งและประธานกรรมการบริหารฝ่ายเทคโนโลยี (CTO) และ จาร์เวด การิม (Jawed Karim) เป็นผู้ก่อตั้งและที่ปรึกษา ในปี 2549 ยูทรูฟมีพนักงานหรือลูกจ้างในการปฏิบัติงาน 67 คน ซึ่งยูทรูฟนั้นอยู่ในธุรกิจการดำเนินงานหรือเป็นเจ้าของโดย กูเกิร์ล(Google) มีสโลแกนเพื่อกระตุ้นจูงใจว่า “คลื่นเสียงนี้เป็นของคุณ (Broadcast Yourself)”

และมีเว็บไซต์ www.youtube.com ยูทรูฟ มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย จากการให้บริการวิดีโอแบบไม่มีค่าใช้จ่าย (free video sharing) และเปิดบริการเว็บไซต์ที่ผู้ใช้สามารถเข้าไปอัฟโลดน์(upload) เพื่อให้เห็นภาพและแลกเปลี่ยนภาพและเสียงผ่านคลิ๊ปวิดีโอ ก่อตั้งขึ้นครั้งแรกในเดือนกุมภาพันธ์ 2548 จากการปฏิบัติงาน ของ 3 องค์กรร่วมกัน ได้แก่ PayPal , San Bruno (ซึ่งเป็นผู้ให้สิทธิในการบริการ) และ Adobe Flash ซึ่งนำเสนอหรือดูแลในส่วนของวิดีโอ ยูทรูฟมีการบริการที่กว้างขวางและหลากหลาย โดยเนื้อหาการบริการจะรวมไปถึง ภาพยนตร์ และ รายการโทรทัศน์ที่ออกอากาศในช่วงเวลาสั้น ๆ (TV clips) และมิวสิควิดีโอ ซึ่งเป็นการบริการที่ดีเหมือนกับการใช้การรับส่งวิทยุโดยมือสมัครเล่น แต่เนื้อหาเช่นเดียวกันกับการรับส่งวิดีโอ (videoblogging) ซึ่งเมื่อเร็ว ๆ นี้ ทีมงานหลัก 67 คน ของยูทรูฟ ได้รับการยกย่อง จากบริษัทที่ถูกเรียกชื่อว่า TIME แม็กกาซีน ให้เป็น “นักคิดหรือนักประดิษฐ์แห่งปี” ประจำปี 2549 และในเดือนตุลาคม 2549

เช่นกันที่ กูเกิร์ล ได้ประกาศว่ายูทรูฟได้ขยายขอบเขตการให้บริการได้จำนวนมากเป็นไปตามความต้องการของบริษัท ซึ่งมีมูลค่าถึง 1.65 ล้านล้านเหรียญสหรัฐตามข้อมูลของกูเกิร์ล ที่บันทึกไว้เมื่อ 13 พฤศจิกายน 2549 สำนักงานใหญ่ของยูทรูฟแรกเริ่มตั้งขึ้นใน ซาน เมททิโอ (San Mateo) ยูทรูฟถูกก่อตั้งขึ้นโดย ชาร์ด เฮอร์เลย์ (Chad Hurley) สตีฟว์ เชน (Steve Chen) และจาร์เวด การิม (Jawed Karim) ซึ่งบุคคลเหล่านี้ได้เริ่มแรกโดยการเป็นพนักงานของ PayPal ซึ่งรองประธานบริษัท PayPal คือ เฮอร์เลย์ (Hurley) ศึกษาการออกแบบที่ มหาวิทยาลัยอินเดียน่าของเพลซิลวาเนีย (Indiana University of Pennsylvania) ส่วน Chen และ Karim ศึกษาในสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ด้วยกันที่มหาวิทยาลัยอิลินอยส์ (University of Illinois at Urban-Champaign) โดยได้ใช้ชื่อจดทะเบียนว่า “ YouTube.com” และเริ่มดำเนินการเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2548 และเว็บไซต์นี้ก็ได้รับการพัฒนาเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ทุกเดือน ฝ่ายพัฒนาและสร้างสรรค์งานได้จัดให้มีการทดลองเผยแพร่เว็บไซต์นี้ในเดือน พฤษภาคม 2548 และใน 6 เดือนต่อมายูทรูฟ ก็ได้เปิดตัวอย่างเป็นทางการต่อสาธารณชน

ยูทรูฟเป็นเทคโนโลยีของการเล่นวีดีโอ ที่สามารถอัดเก็บไว้ได้และนำมานำเสนอได้ใหม่ที่อยู่บนพื้นฐานของการโปรแกรม Macromedia’s FlashPlayer 7 และใช้โปรแกรมบันทึกวิดีโอแบบ Sorenson Spark H.263 อีกทั้งเทคโนโลยีนี้มีความสอดรับกับยูทรูฟ ที่จะสามารถใช้วิดีโอเล่นภาพและเสียงได้อย่างมีคุณภาพเทียบเคียงได้กับการวิดีโอที่เล่นอยู่ที่บ้านและสามารถนำกลับมาเล่นซ้ำได้เหมือนกับ Windows Media Player, Realplayer หรือ Quicktime Player ของแอปเปิ้ล(Apple) ที่ผู้ใช้โดยทั่วไปต้องการที่จะ ดาวน์โลด(Download) และติดตั้งเบาซ์เซอร์ (browser plug-in) และเสียบสายเชื่อมต่อเพื่อจะดูวิดีโอ หากต้องการใช้ภาพเคลื่อนไหวด้วยตัวมันเองก็เพียงแต่เชื่อมต่อ แต่การใช้โปรแกรม Flash 7 ตอบสนองต่อการเล่นของผู้ใช้ได้ดีราว ๆ 90 % เมื่อทำการเชื่อมต่อกับระบบอินเตอร์เน็ต หรือในอีกทางหนึ่งผู้ใช้ (Users) สามารถเข้าไปใช้โดยเข้าเป็นสมาชิกของ เว็บไซต์เพื่อที่จะทำการ Download วิดีโอมาติดตั้งไว้ในคอมพิวเตอร์ของตนเอง

การใช้วิดีโอเพื่อเล่นภาพและเสียงเคลื่อนไหวเป็นที่ชื่นชอบและเป็นองค์ประกอบสำคัญที่ทำให้ ยูทรูฟประสบความสำเร็จ และการยอมให้ผู้ชมเข้าไปดูวิดีโอได้ทันทีทันใด โดยไม่ต้องทำการติดตั้งโปรแกรมหรือต้องไปจัดการกับปัญหาเดิม ๆ ที่ผู้ใช้เคยมีประสบการณ์กับเทคโนโลยีวิดีโอจากเว็บไซต์อื่น ๆ ที่การใช้เทคโนโลยีเข้ากันไม่ได้ หรือมีการใช้วีดีโอสำหรับผู้เล่นวีดีโอหลายระดับมาก ก็เหมือนกับหลาย ๆ เทคโนโลยีที่ริเริ่มขึ้นมา ยูทรูฟได้ถูกเริ่มต้นขึ้นเหมือนกับวิสาหกิจ Angel Investor ที่เป็นธุรกิจเล็ก ๆ และสำนักงานที่มีมูลค่าไม่สูงนัก หรือเหมือนอู่รถยนต์ ในพฤศจิกายน พ.ศ. 2548 มีกองทุนหนึ่งเข้ามาบริหารความเสี่ยง “Sequoia Capital” และลงทุนให้กับ ยูทรูฟ ถึง 3.5 ล้านเหรียญ ฯ

Credit: http://www.oknation.net/blog
24 พ.ย. 52 เวลา 15:30 6,260 5 60
แชร์สกู๊ป
กรุณา Login เพื่อแสดงความคิดเห็น
ส่ง Scoop ให้เพื่อน
แจ้งลบไม่เหมาะสม
ความคิดเห็น

เรื่องอื่นๆ ที่น่าสนใจ

Loading...