รายงานแผ่นดินไหว ทั่วโลก

 

 

 

 

 

รายงานแผ่นดินไหว ทั่วโลก

 

 

 

มิ.ย.๒๕๔๓ แผ่นดินไหวที่ไทย ๓.๗ ริกเตอร์
ธ.ค.๒๕๔๗ แผ่นดินไหวที่อินโดนีเซีย ๙.๐ ริกเตอร์ เกิดซูนามิพัดเข้าภาคใต้ของไทย และประเทศที่ตั้งอยู่ในแถบแปซิฟิก มีผู้เสียชีวิตประมาณ ๓ แสนคน (ไทย ๕ พันคน)
ก.พ.๒๕๕๔ แผ่นดินไหวที่นิวซีแลนด์ ๗.๒ ริกเตอร์
ก.พ.๒๕๕๔ แผ่นดินไหวที่ลาว ๔.๗ ริกเตอร์
มี.ค.๒๕๕๔ แผ่นดินไหวที่จีน ๕.๘ ริกเตอร์
มี.ค.๒๕๕๔ แผ่นดินไหวที่ญี่ปุ่น ๙.๐ ริกเตอร์ เกิดความเสียหายมากที่สุดหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ รวมทั้งโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ของญี่ปุ่น
มี.ค.๒๕๕๔ แผ่นดินไหวที่พม่า ๗.๖ ริกเตอร์
เม.ย.๒๕๕๔ แผ่นดินไหวซ้ำที่ญี่ปุ่น ๗.๔ ริกเตอร์
เม.ย.๒๕๕๔ แผ่นดินไหวซ้ำที่เวียดนาม ๔.๑ ริกเตอร์
เม.ย.๒๕๕๔ พายุเทอร์นาโด พัดถล่มอเมริกากว่า ๓๐๐ ลูก มากที่สุดในรอบ ๔๐ ปี ผู้คนเสียชีวิตกว่า ๒๐๐ คน
เม.ย.๒๕๕๔ ภูเขาไฟระเบิด ใน ๒-๓ ประเทศในรอบ ๓๐ ปี (ขนาดเล็ก แต่มีความถี่เพิ่มขึ้น ในรอบ ๖ เดือนของปี ๒๕๕๔ ควรติดตามข่าวร่วมกับแผ่นดินไหว)
มี.ค.-เม.ย.๒๕๕๔ ถัดจากชะอำและหัวหินลงไป ภาคใต้ของไทยมีเหตุการณ์ฝนตกน้ำท่วมความเสียหายหนักกว่าเดือน พ.ย.๒๕๕๓ ที่ผ่านมา ร่วมถึงกรณีแหลมตะลุมพุก ปี ๒๕๐๔
พ.ค.๒๕๕๔ แผ่นดินไหวที่ฟิลิปปินส์ ๕.๔ ริกเตอร์
พ.ค.๒๕๕๔ แผ่นดินไหวที่สเปน ๕.๓ ริกเตอร์
พ.ค.๒๕๕๔ แผ่นดินไหวที่คอสตาริก้า ๖.๐ ริกเตอร์
พ.ค.๒๕๕๔ แผ่นดินไหวซ้ำที่ญี่ปุ่น ๖.๒ ริกเตอร์
พ.ค.๒๕๕๔ แผ่นดินไหวที่ชายฝั่งทะเลปาปัวนิวกีนี ๖.๐ ริกเตอร์
พ.ค.๒๕๕๔ น้ำท่วมหนักสุดในรอบ ๔๐ ปี ที่โคลัมเบีย และ มิสซิสซิปปี
พ.ค.๒๕๕๔ แผ่นดินไหวที่ตุรกี ๖.๐ ริกเตอร์

(แผ่นดินไหวไม่สามารถเตือนล่วงหน้าได้ว่าจะเกิด ณ ที่ใด แต่มีความสัมพันธ์กับสภาวะสิ่งแวดล้อมระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ ส่วนพายุและอุทกภัย วาตภัย และภูเขาไฟระเบิด สามารถพยากรณ์ล่วงหน้าได้จากหน่วยงานอุตุนิยมฯทั่วโลก การเตรียมพร้อมเกี่ยวกับพิบัติภัยธรรมชาติเป็นความจำเป็นอย่างยิ่ง)

http://www.tmd.go.th/earthquake_report.php

 


 สถิติแผ่นดินไหวที่มีผลกระทบต่อประเทศไทย

สถิติแผ่นดินไหวที่มีผลกระทบต่อประเทศไทย วันที่ - เวลา ขนาด / ความรุนแรง ศูนย์กลาง / ตำแหน่งที่รู้สึก บันทึกเหตุการณ์ 23 กุมภาพันธ์ 2554
22:53 5.3 ประเทศลาว ห่างจาก อ.เมือง จ.น่าน ไปทางทิศตะวันออก ประมาณ 100กม รู้สึกสั่นไหวได้หลายจังหวัด เช่น เลย น่าน แพร่ อุดรธานี หนองคายและหนองบัวลำภู 6 กรกฎาคม 2553
22:23 4.5 ประเทศพม่า ห่างจาก อ.แม่สาย จ.เชียงราย ทางทิศตะวันตก ประมาณ 6 กม. (20.42N,99.83E) รู้สึกสั่นไหวได้ทั่วไปบริเวณ อ.แม่สาย อ.แม่จัน อ.แม่ฟ้าหลวง อ.เชียงแสน และ อ.เมือง จ.เชียงราย 9 พฤษภาคม 2553
19:59 7.3 ชายฝั่งตอนเหนือของเกาะสุมาตรา อินโดฯ (3.59N,96.04E) รู้สึกสั่นไหวได้บนอาคารสูงบางแห่งใน จ.ภูเก็ต, จ.พังงา, จ.สุราษฎร์ธานี, จ.สงขลา และ กทม. 5 เม.ย. 2553
06:42:52 3.5 อ.เวียงชัย จ.เชียงราย (19.94N,99.95E) รู้สึกสั่นไหวบริเวณ อ.เมือง จ.เชียงราย 20 มี.ค. 53
02:53 5.0 ประเทศพม่า ห่างจากพรมแดนไทย(แม่สาย) ประมาณ 80 กิโลเมตร 21.2 N 100.3 E รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ จ.เชียงราย 30 ก.ย.52
17.16 น. 7.9 ตอนกลางเกาะสุมาตรา 1.1S 99.1E รู้สึกสั่นไหวบนตึกสูงในกรุงเทพฯ ประเทศอินโดนีเซียมีผู้เสียชีวิตประมาณ 1000 คน 23 ธ.ค.51
13.38 น. 4.1 อ.พระแสง จ.สุราษฎร์ธานี 8.65 N 98.99 E รู้สึกสั่นไหวในบริเวณ อ.พระแสง จ.สุราษฎร์ธานี 22 ก.ย.51
20.30 น. 5.2 ชายฝั่งตอนใต้ของพม่า 15.7 N 96.2 E รู้สึกสั่นไหวบนตึกสูงหลายแห่งในกรุงเทพ 21 ส.ค.51
19.24 น. 5.7 พรมแดนพม่า-จีน 25.1 N 97.82 E รู้สึกสั่นไหวบนตึกสูงในกรุงเทพฯหลายแห่ง ประเทศจีนมีผู้เสียชีวิต 1 คน บาดเจ็บหลายคน 1 ก.ค.51
16.45 น. 3.8 อ.พร้าว เชียงใหม่ 19.26 N 99.24 E รู้สึกสั่นไหวได้ที่ จ.เชียงใหม่ 12 พ.ค.51
13.27 น. 7.8 มณฑลเสฉวน ,จีน 31.7 N 102.7 E รู้สึกสั่นไหวบนตึกสูงในกรุงเทพฯหลายแห่ง ประเทศจีนมีผู้เสียชีวิตประมาณ 20,000 คน 22 เม.ย.51
02.31 น. 3.9 อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 18.89N 98.97E รู้สึกสั่นไหวได้ที่ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 20 ก.พ.51
15.05 น. 7.5 ตอนเหนือเกาะสุมาตรา 2.70N 95.90E รู้สึกสั่นไหวบนตึกสูงในกรุงเทพฯและจ.ภูเก็ต อาจเกิดสึนามิขนาดเล็กบริเวณใกล้ศูนย์กลาง 28 ธ.ค. 2550
12.24 น. 5.7 ตอนเหนือของสุมาตรา 5.42 N 95.91E รู้สึกสั่นสะเทือนได้บนอาคารสูง จ.ภูเก็ต จ.พังงา 2 พ.ย. 2550
02.05 น. 5.7 พรมแดนพม่า-ลาว-จีน 21.57 N 100.92 E รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ จ.เชียงราย 16 ต.ค. 2550
13.47 น. 5.0 ตอนเหนือของลาว 20.84 N 100.93 E รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ จ.เชียงราย 13 ก.ย. 2550
10.35 น. 7.1 ตอนใต้ของสุมาตรา 2.65 S 99.87 E รู้สึกสั่นสะเทือนได้ บนอาคารสูงบางแห่ง ในกรุงเทพมหานคร 12 ก.ย. 2550
18.10 น. 8.4 ตอนใต้ของสุมาตรา 3.8 S 102.0 E รู้สึกสั่นสะเทือนได้บนอาคารสูง ในกรุงเทพมหานคร 23 มิ.ย. 2550
15.17,15.27 น. 5.5,5.2 พม่า 21.27 N 99.82 E รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ อ.เชียงแสน จ.เชียงราย และอาคารสูงในกรุงเทพมหานคร 19 มิ.ย. 2550
12.06 น. 4.5 อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 18.9 N 99.0 E รู้สึกสั่นสะเทือนได้ที่ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ และ จ.ลำพูน


สถิติแผ่นดินไหวที่มีผลกระทบต่อประเทศไทย วันที่ - เวลา ขนาด / ความรุนแรง ศูนย์กลาง / ตำแหน่งที่รู้สึก บันทึกเหตุการณ์ วันเสาร์ เดือน 7 พ.ศ. 1003
แรม 7 ค่ำ กลางคืน XII MM โยนก แผ่นดินไหวสนั่นหวั่นไหว ครั้งหนึ่งก็หายไป ถึงสามหน ทำให้โยนกนครยุบจมลงเกิดเป็น หนองน้ำใหญ่ 589 ปี ก่อน ค.ศ.
ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 8 VI MM โยนก ยามเช้า แผ่นดินไหว ฟ้าร้อง 594 ปี ก่อน ค.ศ.
วันจันทร์ เดือน 10 VI MM โยนก ยามค่อนรุ่ง แผ่นดินไหว ฟ้าร้อง 623 ปี ก่อน ค.ศ.
วันศุกร์ เดือน 8 VI MM โยนก แผ่นดินไหว ฟ้าร้อง ฝนตก 624 ปี ก่อน ค.ศ.
วันพฤหัสฯ เดือน 10 VI MM โยนก ยามรุ่งแจ้ง แผ่นดินไหว ฟ้าร้อง
Credit: http://manager.co.th/Around/ViewNews.aspx?NewsID=9540000061788
22 พ.ค. 54 เวลา 12:45 5,731 10 80
แชร์สกู๊ป
กรุณา Login เพื่อแสดงความคิดเห็น
ส่ง Scoop ให้เพื่อน
แจ้งลบไม่เหมาะสม
ความคิดเห็น

เรื่องอื่นๆ ที่น่าสนใจ

Loading...