มีชื่อว่า “Thunderstorm Over Asia” (ฝนฟ้าคะนองทั่วเอเชีย)
ฝน ฟ้าคะนองปั่นป่วนทั่วเอเชียในปี 1999 ซึ่งนักบินอวกาศจากกระสวยอวกาศโคลัมเบียบันทึกภาพไว้ได้ ซึ่งฝนฟ้าคะนองนี้นะคับ ยังคลอบคลุมไปถึงพื้นที่ต่างๆ โดยที่ประเทศเหล่านั้นไม่ทันตั้งตัว กระสวยอวกาศนี้ได้พาดผ่านเหนือ ประเทศพม่า รวมถึงภาพนี้ก็คือดินแดนแถว พม่าค้าบ
มีชื่อว่า “Scenic Routes” (ทิวทัศน์แห่งเส้นสาย)
Rio Negro ที่ไม่เคยหลับใหล ทุกเส้นทางที่ผ่านมานั้น ขดเคี้ยวทั่วภูมิภาค Patagonia ของอาร์เจนตินา ภาพนี้นะค้าบ ถ่ายไว้เมื่อปี 2010 โดยนักบินอวกาศจากสถานีอวกาศ นานาชาติ
มีชื่อว่า “Caustic Waters” (สายน้ำกัดกร่อน)
ทะเลสาบสีสันฉูดฉาด “Natron” ใน แทนซาเนีย ทางนาซาได้ให้ข้อมูลไว้ว่า เป็นแหล่งน้ำที่มีการกัดกร่อนทางโครงสร้างที่มากที่สุดในโลก ทะเลสาบสีส้ม นี้ถ่ายไว้ด้วยดาวเทียมในปี 2005 ถึงแม้ที่นี่จะโด่งดัง แต่ทะเลสาบก็มีการจัดการกับ ปลาเจ้าถิ่นพันธุ์พื้นเมือง อย่างเช่น ปลาแอลคาไลน์ไว้ได้
มีชื่อว่า “March to the Sea” (วิถีแห่งทะเล)
ธารน้ำแข็ง Neumayer ทาง เกาะจอร์เจียใต้ ซึ่งอยู่ทางตะวันออกของสุดปลายทางใต้ของอเมริกาใต้ ได้คลืบคลานเข้าใกล้มหาสมุทรกว่าที่เคย ภาพนี้นะค้าบ ถ่ายโดย ดาวเทียมในปี 2009
มีชื่อว่า “Made by Meteorite” (น้ำมืออุกกาบาต)
ภาพ ถ่ายดาวเทียมนี้ได้เผยแพร่ในปี 2004 ทะเลสาบน้ำเค็มที่แลดูส่องประกาย ภายในโครงสร้างที่ถูกกระแทกเป็นรูปเกือกม้า กว่า 1.7 พันล้านปีที่อุกกาบาตที่เก่าแก่ที่สุดที่มนุษย์เคยรู้จักได้ปะทะอย่างจัง ในดินแดนออสเตรเลีย
มีชื่อว่า “Sea snakes” (ทะเลรูปงู)
การเลื้อยในทางน้ำไหลเข้าสู่ ดินแดนที่เป็นทรายถูกพบได้ใน Wadden Sea ใกล้กับประเทศเนเธอร์แลนด์ ภาพนี้นะค้าบ ถ่ายจากดาวเทียมในปี 2006
มีชื่อว่า “Iceberg Nuresery” (เนิซเซอรี่ ภูเขาน้ำแข็ง)
ภาพถ่ายดาวเทียมในปี 2010 ธารน้ำแข็ง Matusevich ได้ให้กำเนิด ภูเขาน้ำแข็งใหม่หลายลูกใน ช่องแอนตาร์กติค ซึ่งช่องนี้นะค้าบถูกตัดระหว่าง เทือกเขา Lazarev และ เนินเขา Wilson
มีชื่อว่า “Desert’s End” (สุดขอบทะเลทราย)
ทางตะวันออกของอัลจีเรียยาวเหยียดออกไปในซาฮาร่า เนินทราย Tifernine ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ เนินทะเลทราย Grand Erg Oriental มาพบกันที่ราบ Tinrhert เ
6 พ.ค. 54 เวลา 14:29 5,801 9 100
กรุณา
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น
ความคิดเห็น
เรื่องอื่นๆ ที่น่าสนใจ