เรื่องลับที่ไม่ลับของเครื่องบินมอเตอร์ไฟฟ้าคู่ มันไม่ได้ใช้ความลับอะไรที่ว่าเราและผู้อ่านอีกหลายท่านเป็นแฟนตัวยงของเครื่องบินมอเตอร์ไฟฟ้าที่มีมอเตอร์หลายตัว สำหรับเราเมื่อเปรียบเทียบกัน มอเตอร์ไฟฟ้ามีข้อใด้เปรียมมากกว่าเสียเมือเปรียบเทียบกับเครื่องยนต์ อย่างแรกเลยคือเรื่องของความสะอาด อย่างน้อยก็ไม่ต้องเช็คคราบน้ำมันออกจากตัวเครื่องบิน ไม่ต้องกังวนเรื่องเครื่องยนต์ดับกลางอากาศ ถ้าเลือกใช้มอเตอร์ไฟฟ้า เรามาดูกันดีกว่าว่าต้องทำอะไรกันบ้างในการปรับตั้งเครืืองบินไฟฟ้าหลายมอเตอร์ให้ทำงานให้ได้ดีั
สิ่งที่คุณต้องพิจารณากับเครื่องบินมอเตอร์คู่
สิ่งแรกที่จะต้องพิจารณา คือ ต้องมีช่องให้เข้าถึงแพ็คแบตเตอรี่ได้ง่าย ก็เช่นเดียวกับเครื่องบินไฟฟ้าอื่นๆ คุณต้องการจะเข้าไปถอดและต่อแบตเตอรี่ได้ง่ายๆ เพื่อการเปลี่ยนแบตเตอร์อาจจะต้องหรือไม่ต้องทำฝาปิดถอดได้เพื่อให้เข้าถึงบริเวณนี้ได้ง่าย เป็นความคิดที่ดีที่จะมีช่องแบตเตอรี่ จะได้ไม่ีต้องหาน้ำหนักมาชดเชยเพื่อรักษาสมดุลของเครื่องบิน เครืิ่องบินมอเตอร์แฝดส่วนมาก มีตัวถังศูนย์กลางที่เหมาะมากกับงานนี้ สิ่งที่สองที่ต้องคิุดถึงก็คือ การเข้าถึงที่ตั้งมอเตอร์ง่ายๆหรือฝาครอบกระจกห้องโดยสารโดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับติดตั้ง ESC ซึ่งควรมีกระแสอากาศไหลผ่านได้ดี และมีช่องทางไปถึงปีกได้สะดวก สำหรับการเิดินสายไปยังแบตเตอรี่แบและเครื่องรับ เืมื่อเครื่องบินของคุณมีองค์ประกอบที่ต้องการเหล่านี้ครบถ้วน ก็พร้อมจะติดตั้งระบบพลังงานไฟฟ้าแล้ว
พิจารณาว่าต้องให้อะไร
ในเรื่องที่ยากในการติดตั้งมอเตอร์ไฟฟ้า ก็คือการเลือกมอเตอร์ที่จะมาเหมาะผสมกับเครื่องบิน โดยทั่วไปแล้วร้านค้าหรือบริษัทผู้ผลิตเครื่องบินจะช่วยได้ในการให้คำแนะนำ ในเรื่องของมอเตอร์ สิ่งที่เราต้องทำคือโทรศัพท์ไปหาร้านค้า โดยปรกติจะใช้มอเตอร์ที่มีกำลังเท่้ากันสองชุดที่ได้ดีกับเครื่องบินของคุณ
การเลือก ESC หรือ สปีดคอนโทรล
เมื่อคุณเลือกแบตเตอรี่ได้แล้ว ที่เหลือก็เข้าที่เข้าทางแล้ว ESC ต้องเป็นแบบที่เข้ากับชนิดของมอเตอร์ (brush หรือ Brushless) และต้องรับกระแสสูงสุดที่มอเตอร์ต้องการได้ ตัวอย่างเช่น หากมีมอเตอร์ที่ทำงานอยู่ที่ในราว 30-40 แอมป์ แต่มีขอบเขตสูงสุดที่ 50 แอมป์ หรือจะเผื่อไว้สัก 5-10 แอมป์ก็ไม่ใช้เรื่องเสียหาย
ข้อคิดเห็นเล็กๆน้อยๆเกี่ยวกับแบตเตอรี่ LiPo
ในส่วนของแบตเตอรี่ต้องใช้ความคิดเล็กน้อย ขึ้นอยู่กับว่าเราจะเดินสายระบบของตัวเองอย่างไร แบตเตอรี่แพ็ค หรืออาจจะใช้กับมอเตอร์ตัวเดียว หรือทั้งสองตัว หรืออาจจะใช้แพ็คแบตเตอรี่ 2 แพ็คให้พลังงานกับมอเตอร์ทั้งหมด เมื่อคุณใช้แพ็คแบตเตอรี่ 1 แพ็คกับมอเตอร์สองต้ว(หรือสี่ตัว ถ้าเป็นครื่องบินทิ้งระเบิดขนาดหนัก) จึงต้องมีแบตเตอรี่ 4-5 เซลล์ นั้นแหละคือสิ่งที่แบตเตอรี่ควรจะเป็น เราจะไม่ใช้แพ็ค 8-10 เซลล์เพาะใช้มอเตอร์ 2 ตัว
อย่างไรก็ดีการดึงแอมป์ฺนั้นจะต้องการเป็นสองเท่าหรือสี่เท่า ขึ้นอยู่กับว่าเรามีมอเตอร์อยู่กี่ตัว ตัวอย่างเ่ช่น ถ้าหากมีมอเตอร์ 2 ตัว แต่ละตัวดึง 40 แอมป์ต่อเนี่อง แล้วคุณจะทราบค่าแอป์ที่ดึงได้จากแบตเตอรี่ได้ยังไง?? คุณจะต้องคูณความจุของแพ็คแบตเตอรี่ จากอัตรา "C" ของมัน ถ้าเรามีแบตเตอรี่ LiPo 4000 mAh 1 แพ็คที่มีเรทอยู่ที่ 15 C แพ็คนั้นมีค่าสูงสุดได้ีที่ 6000 mAh (15 * 4,000) = 6,000 mAh) หรือ ดึงได้ 60 แอมป์เมื่อไหร่ก็ได้ นี่หมายความว่าแบตเตอรี่นี้ไม่เหมาะสมกับการตั้งค่า 80 แอมป์ แต่ถ้าแพ็คเดียวกันนี้มีค่าคายประจุ 20 C (20 * 4,000 = 80,000 mAh) มันก็จะรับการดึง 80 A ไ้ด้ ปัญหาเีดียวจากการผสมแพ็คนี้ก็คือ ถ้ามอเตอร์ดึงมากว่า 80 แอมป์ ก็จะเสียงกับการทำให้แพ็คร้อนเกินไปจากการดีึงการแสมากเกินไป และทำให้มันบวม ซึ่งจะทำให้แพ๊ํคแบตเตอรี่ที่มีพลังรวมส่วนเกินบ้างเล็กน้อย เพื่อถ้าระบบพลังงานของเราดึงแอมป์มากกว่าที่คาด เราจะมีแฮมป์สำรองอยู่ในแพ็ค ในตัวอย่างนี้ เราจะใช้แพ็ค LiPo หรือการรวมแพ็ค ให้เท่ากับ 5,000 mAh ที่ 20 C ทำให้สามารถดึงได้ถึง 100 แอมป์จากแพ็จนี้เมื่อไรก็ได้ข้อได้เปรียบของแพ็คนี้ก็คือถ้าระบบดึงมากกว่า 80 แอมป์ ระบบสามารถรับได้ และเพราะแบตเตอรี่ไม่ได้ทำงานที่ประสิทธิภาพสูงสุด มันจึงเย็นมากขึ้น
เดินสายสำหรับระบบหลายมอเตอร์
ข้อดีของการใช้แบตเตอรี่ LiPo ให้พลังก็คือ มันมีน้ำหนักเบา ให้เวลาใช้่งานได้นานกว่าและสามารถเดินสายผสมแบบใดๆก็ได้ นี่เป็นประโยชน์มาก เมื่อเราใช้มากกว่าหนึ่งมอเตอร์เมื่อต่อแบตเตอรี่เป็นแบบอนุกรม คุณเพิ่มโวลท์เป็นเท่าัตัว ขณะที่รักษาความจุ (แอมป์ ชั่งโมง) ไว้เท่าเดิม การต่อแบบนี้ทำได้โดยต่อขั้นลบของก้อนที่หนึ่งเข้ากับขั้วบอกของก้อนที่สอง แล้วเดินสายลบจากที่เปิดอยู่มายังขั้วบอกของมอเตอร์ คุณจะใช้วิธีนี้ถ้าแบตเตอรี่ต้องการ 22.2 โวลท์ ในการทำงาน เพียงแ่ต่ต่อแบตเตอรี่ 11.1 โวลท์ 2 ก้อนเข้าด้วยกัน (แพ็ค 3 เซลล์) ในแบบอนุำกรม เพื่อใ้ห้ได้ 22.2 โวลท์ (6 แพ็ค)
แต่ในหลายครั้ง อาจต้องต่อสายในแบบขนาน ซึ่งจะเพิ่มความจุของแบตเตอรี่เป็น 2 เท่า (แอมป์ ชั่วโมง) ขณะที่รักษาโวลท์ของแบตเตอรี่ไว้หนึ่งเีดียว วิธีนี้ทำไ้ด้โดยใช้ตัวเชื่อมต่อ Y ระหว่างแบตเตอรี่ 2 ชุดหรือมากว่านั้น ต่อขั้วบอกและขั้วลบของแบตเตอรี่ทั้่งสองเข้าด้วยกันแล้วต่อสายบอก,สายลบจากแบตเตอรี่หนึ่ง ไปยังมอเตอร์ นี่คือวิธีที่เราจะใช้แบตเตอรี่ 2 ชุดด้วยกันให้ได้กระแสตามที่มอเตอร์หลายตัวของเราต้องการ จากตัวอย่างข้างบน เราต่อแพ็คแบตเตอรี่ 5 เซลล์ 2500 mAh (18.5V)เข้าด้วยกันในแบบขนานและสร้างแบตเตอรี่ 5000 mAh 5 เซลล์ ซึ่งมากเกินพอในการให้พลังงานที่ต้องการกับเครื่อง 2 มอเตอร์
ต่อมอเตอร์กับแบตเตอรี่เข้าด้วยกัน
มีสองทางเลือกในการต่อเชื่อมแพ็คแบตเตอรี่กับมอเตอร์ ทางเลือกแรกคือแบตเตอรี่ขนาดที่เหมาะกับมอเตอร์ทุกตัว ข้อดีึืคือแบตเตอรี่ทุกตัวจะมีแหล่งพลังงานของมันเอง และใช้การเดินสายเรียบง่าย เพียงแต่ต่อแบตเตอรี่แยก (ตามขนาดที่ต้องการ)กับมอเตอร์/ESC แต่ละตัว ข้อเสียก็คือเมื่อแบตเตอรี่เก่าลง มันอาจจะคลายประจุที่อัตราต่างๆกัน อาจจะทำให้มอเตอร์ตัวใดตัวหนึ่งอ่อนแรงกว่าตัวอื่นๆ นี่อาจทำให้เกิดแรงบิดในด้านหนึ่งของเครื่องบินมากว่าอีกด้านหนึ่ง และในบางกรณีมันอาจทำให้เครื่องบินโรลไปอยู่ในสภาพหมุนควง โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าแบตเตอรี่หนึ่งเสีือมลงช้าๆ
อีักตัวเลือกหนึ่งในการเชื่อมต่อคือใช้ตัวเชื่อมต่อ Y เชื่อมมอเตอร์ทั้งสองเข้ากับแบตเตอรี่ขนาดที่ต้องการซึ่้งใหญ่กว่าเดิม เพื่อเลี้ยงมอเตอร์ทั้งสอง ข้อดีคือเมื่อแบตเตอรี่ไฟใกล้หมด หรืออ่อนแรงลง มอเตอร์ทั้งสองก้จะสะท้อนออกมาให้ประสิืิทธิำภาพของทั้งคุ่ รักษาแรงบิดที่เท่้ากันในทั้่งสองด้านของเครื่องบินได้โดยตลอด ข้อเสียคือก็คือการเดินทางชับช้อนกว่าเล็กน้อย ในเครื่องบินสี่มอเตอร์อย่าง B - 17 ใช้ตัวเชื่อม Y เชื่อมมอเตอร์ Onboard ทั้งหมด เข้ากับแพ็คแบตเตอรี่เดียว และมอเตอร์ Outboard ทั้งหมด เข้ากับแบตเตอรี่อีืกแพ็ค วิธีนี้แม้ว่าแบตเตอรี่หนึ่งจะไม่ทำงาน แต่คุณก็จะยังมีมอเตอร์ในทั้งสองด้านของเครื่องบินทำงานได้
ต่อมอเตอร์หลายตัวเข้ากับเครื่องรับ
มอเตอร์ทุกตัวบนเครื่องบินหลายมอเตอร์จะต้องการ ESC ของตัวเอง อย่าพยายามต่อ ESC ตััวเดียวกับมอเตอร์สองตัวหรือมากกว่านี้ มันจะไม่ทำงาน แต่สา่มารถใช้ตัวเชื่อมต่อ Y กับ ESC ทุกตัวเข้ากับช่องสัญาณของตัวบนเครื่องรับได้ แล้วผสมมันด้วยโปรแกรมวิทยุ สูช่องสัญญาณคันเร่ง ในเครื่อง B-17 (เครื่องบินทิ้งระเบิดสี่เครื่องยนต์) เราใช้ตัวเชื่อม Y หนึ่งตัวเพื่อต่อมอเตอร์ inboard เข้ากับช่องสัญาณคันเร่ง และต่อมอเตอร์ inboard เข้ากับช่องสัญาณค้นเร่งวิธีนี้ทั้งหมดจะทำงานเป็นหนึ่งเดียวเมื่ออยู่ในอากาศ แต่เมื่ออยู่บนพื้นดิน ผมสามารถสับสวิทซ์อันหนื่งแล้วให้มอเตอร์ Onboard เท่านั้นที่ทำงานขณะกำลังฝึก
สรุป
คุณคงเห็นแล้วว่า เดินสายแบบหลายมอเตอร์ ไม่ใช้เรื่องยาก ทีนี้ก็ไม่มีสาเหตุที่จะเปลี่อนเครื่องบินหลายเครื่องยนต์ของคุณมาใช้ไฟฟ้า ขอให้สนุกกับการบินเครื่องบินพลังงานไฟฟ้าที่วางใจได้ และสนุกกับเวลาบินที่เพิ่้มขึ้น