นายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไทย
นายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรไทย.................
นายกรัฐมนตรีไทย
(พ.ศ. 2475 - ปัจจุบัน)
ลำดับ
(สมัย)
รูป
รายนาม
ครม.
คณะที่
เริ่มวาระ
(เริ่มต้นโดย)
สิ้นสุดวาระ
(สิ้นสุดโดย)
1
(1-3)
ประธานคณะกรรมการราษฎร
พระยามโนปกรณ์นิติธาดา
(ก้อน หุตะสิงห์)
1
28 มิถุนายน พ.ศ. 2475
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
9 ธันวาคม พ.ศ. 2475
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2475 : เลือกตั้งทั่วไป)
2
10 ธันวาคม พ.ศ. 2475
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
1 เมษายน พ.ศ. 2476
(รัฐประหารโดยพระราชกฤษฎีกา)
3
1 เมษายน พ.ศ. 2476
(พระราชกฤษฎีกา)
21 มิถุนายน พ.ศ. 2476
(รัฐประหาร)
2
(1-5)
พลเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา
(พจน์ พหลโยธิน)
4
21 มิถุนายน พ.ศ. 2476
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
16 ธันวาคม พ.ศ. 2476
(ลาออก)
5
16 ธันวาคม พ.ศ. 2476
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
22 กันยายน พ.ศ. 2477
(ลาออก เนื่องจากสภาไม่อนุมัติสนธิสัญญาจำกัดยางของรัฐบาล)
6
22 กันยายน พ.ศ. 2477
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
9 สิงหาคม พ.ศ. 2480
(ลาออก เนื่องจากกรณีกระทู้เรื่องขายที่ดินพระคลังข้างที่)
7
9 สิงหาคม พ.ศ. 2480
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
21 ธันวาคม พ.ศ. 2480
(สภาครบวาระ)
8
21 ธันวาคม พ.ศ. 2480
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
16 ธันวาคม พ.ศ. 2481
(ยุบสภา)[1]
3
(1,2)
จอมพล ป. พิบูลสงคราม
(แปลก พิบูลสงคราม)
9
16 ธันวาคม พ.ศ. 2481
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
7 มีนาคม พ.ศ. 2485
(ลาออก เนื่องจากต้องเปลี่ยนแปลงคณะรัฐมนตรีให้เหมาะสม)
10
7 มีนาคม พ.ศ. 2485
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
1 สิงหาคม พ.ศ. 2487
(ลาออก เนื่องจากส.ส.ไม่อนุมัติร่างพ.ร.บ.และพ.ร.ก.)
4
(1)
พันตรี ควง อภัยวงศ์
(หลวงโกวิทอภัยวงศ์)
11
1 สิงหาคม พ.ศ. 2487
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
31 สิงหาคม พ.ศ. 2488
(ลาออก เนื่องจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้สิ้นสุดลง)
5
นายทวี บุณยเกตุ
12
31 สิงหาคม พ.ศ. 2488
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
17 กันยายน พ.ศ. 2488
(ลาออก เนื่องจากจะเปิดโอกาสให้ผู้ที่เหมาะสมเข้ามาแทน)
6
(1)
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
13
17 กันยายน พ.ศ. 2488
(เสนอชื่อโดยผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน)
31 มกราคม พ.ศ. 2489
(ยุบสภา)
4
(2)
พันตรี ควง อภัยวงศ์
(หลวงโกวิทอภัยวงศ์)
14
31 มกราคม พ.ศ. 2489
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
24 มีนาคม พ.ศ. 2489
(ลาออก เนื่องจากแพ้มติสภาที่เสนอพ.ร.บ.ที่รัฐบาลรับไม่ได้)
7
(1-3)
ศาสตราจารย์ ดร. ปรีดี พนมยงค์
(หลวงประดิษฐ์มนูธรรม)
15
24 มีนาคม พ.ศ. 2489
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
8 พฤษภาคม พ.ศ. 2489
(ลาออกเพราะประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2489และให้เลือกตั้งทั่วไป)
-
7 มิถุนายน พ.ศ. 2489
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
11 มิถุนายน พ.ศ. 2489
(ลาออก เนื่องจากการสวรรคตของรัชกาลที่ 8)
16
11 มิถุนายน พ.ศ. 2489
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
23 สิงหาคม พ.ศ. 2489
(ลาออก เนื่องจากถูกใส่ร้ายป้ายสีกรณีสรรณคตของรัชกาลที่ 8)
8
(1,2)
พลเรือตรี ถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์
(หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์)
17
23 สิงหาคม พ.ศ. 2489
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
30 พฤษภาคม พ.ศ. 2490
(ลาออก เนื่องจากมีกระแสกดดันที่รุนแรง)
18
30 พฤษภาคม พ.ศ. 2490
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
(รัฐประหาร)
คณะทหารแห่งชาติ
8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
4
(3,4)
พันตรี ควง อภัยวงศ์
(หลวงโกวิทอภัยวงศ์)
19
10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
(รัฐประหาร)
21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491
(ลาออก เนื่องจากเป็นรัฐบาลรักษาการเพื่อจัดเลือกตั้งทั่วไป)
20
21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
8 เมษายน พ.ศ. 2491
(ลาออก เนื่องจากคณะรัฐประหารบังคับให้ลาออกภายใน 24 ชั่วโมง)
3
(3-8)
จอมพล ป. พิบูลสงคราม
(แปลก พิบูลสงคราม)
21
8 เมษายน พ.ศ. 2491
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
25 มิถุนายน พ.ศ. 2492
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2492 : เลือกตั้งทั่วไป)
22
25 มิถุนายน พ.ศ. 2492
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494
(นำรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2475 กลับมาใช้อีกครั้งหนึ่ง)
23
29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494
(รัฐประหาร)
6 ธันวาคม พ.ศ. 2494
(มีการแต่งตั้งสมาชิกประเภทที่ 2 ขึ้นใหม่)
24
6 ธันวาคม พ.ศ. 2494
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
23 มีนาคม พ.ศ. 2495
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2495 : เลือกตั้งทั่วไป)
25
24 มีนาคม พ.ศ. 2495
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
21 มีนาคม พ.ศ. 2500
(สภาครบวาระ)
26
21 มีนาคม พ.ศ. 2500
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
16 กันยายน พ.ศ. 2500
(รัฐประหาร)
พรรคเสรีมนังคศิลา
คณะปฏิวัติ
16 กันยายน พ.ศ. 2500
21 กันยายน พ.ศ. 2500
9
นายพจน์ สารสิน
27
21 กันยายน พ.ศ. 2500
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
1 มกราคม พ.ศ. 2501
(ลาออก)
10
(1)
จอมพลถนอม กิตติขจร
28
1 มกราคม พ.ศ. 2501
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
20 ตุลาคม พ.ศ. 2501
(ลาออกและรัฐประหาร)
11
จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
29
9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
8 ธันวาคม พ.ศ. 2506
(ถึงแก่อสัญกรรม)
10
(2-4)
จอมพลถนอม กิตติขจร
30
9 ธันวาคม พ.ศ. 2506
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
7 มีนาคม พ.ศ. 2512
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2511 : เลือกตั้งทั่วไป)
31
7 มีนาคม พ.ศ. 2512
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514
(รัฐประหาร)
-
สภาบริหารแห่งชาติ
18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514
17 ธันวาคม พ.ศ. 2515
จอมพลถนอม กิตติขจร
32
18 ธันวาคม พ.ศ. 2515
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
14 ตุลาคม พ.ศ. 2516
(ลาออก เนื่องจากเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลา)
-
12
นายสัญญา ธรรมศักดิ์
33
14 ตุลาคม พ.ศ. 2516
(โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง)
22 พฤษภาคม พ.ศ. 2517
(ลาออก โดยอ้างเหตุร่างรัฐธรรมนูญไม่เสร็จ)
34
27 พฤษภาคม พ.ศ. 2517
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2517 : เลือกตั้งทั่วไป)
6
(2)
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
35
15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
14 มีนาคม พ.ศ. 2518
(ไม่ได้รับความไว้วางใจจาก ส.ส.ในการแถลงนโยบาย)
13
หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
36
14 มีนาคม พ.ศ. 2518
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
20 เมษายน พ.ศ. 2519
(ยุบสภา)[2]
6
(3)
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
37
20 เมษายน พ.ศ. 2519
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
25 กันยายน พ.ศ. 2519
(ลาออก เนื่องจากเกิดวิกฤตการณ์จอมพลถนอมกลับมาอุปสมบท)
38
25 กันยายน พ.ศ. 2519
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
6 ตุลาคม พ.ศ. 2519
(รัฐประหาร)
คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน
6 ตุลาคม พ.ศ. 2519
8 ตุลาคม พ.ศ. 2519
14
นายธานินทร์ กรัยวิเชียร
39
8 ตุลาคม พ.ศ. 2519
(รัฐประหาร)
20 ตุลาคม พ.ศ. 2520
(รัฐประหาร)
15
(1,2)
พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
40
11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520
(ผู้บัญชาการทหารสูงสุด)
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2522
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2521 : เลือกตั้งทั่วไป)
41
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2522
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
3 มีนาคม พ.ศ. 2523
(ลาออก เนื่องจากเกิดวิกฤตการณ์น้ำมันและผู้ลี้ภัย)
-
16
(1-3)
พลเอก เปรม ติณสูลานนท์
42
3 มีนาคม พ.ศ. 2523
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
30 เมษายน พ.ศ. 2526
(ยุบสภา)[3]
43
30 เมษายน พ.ศ. 2526
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
5 สิงหาคม พ.ศ. 2529
(ยุบสภา)[4]
-
44
5 สิงหาคม พ.ศ. 2529
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
4 สิงหาคม พ.ศ. 2531
(ยุบสภา)[5]
17
(1,2)
พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ
45
4 สิงหาคม พ.ศ. 2531
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
9 ธันวาคม พ.ศ. 2533
(ลาออก)
46
9 ธันวาคม พ.ศ. 2533
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534
(รัฐประหาร)
คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.)
24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534
1 มีนาคม พ.ศ. 2534
18
(1)
นายอานันท์ ปันยารชุน
47
2 มีนาคม พ.ศ. 2534
(ได้รับการเสนอชื่อขึ้นทูลเกล้าฯ โดย รสช.)
7 เมษายน พ.ศ. 2535
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2534 : เลือกตั้งทั่วไป)
19
พลเอก สุจินดา คราประยูร
48
7 เมษายน พ.ศ. 2535
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535
(ลาออก เนื่องจากเกิดเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ)
-
นายมีชัย ฤชุพันธุ์
48
24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535
(นายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง)
10 มิถุนายน พ.ศ. 2535
(โปรดเกล้าฯ นายกรัฐมนตรีคนใหม่)
18
(2)
นายอานันท์ ปันยารชุน
49
10 มิถุนายน พ.ศ. 2535
(ได้รับการเสนอชื่อขึ้นทูลเกล้าฯ โดยนายอาทิตย์ อุไรรัตน์ ประธานสภาผู้แทนราษฎร)
23 กันยายน พ.ศ. 2535
(ยุบสภา)[6]
20
(1)
นายชวน หลีกภัย
50
23 กันยายน พ.ศ. 2535
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538
(ยุบสภา)[7]
21
นายบรรหาร ศิลปอาชา
51
13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539
(ยุบสภา)[8]
22
พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ
52
25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540
(ลาออก เนื่องจากเกิดวิกฤตการณ์เศรษฐกิจ)
20
(2)
นายชวน หลีกภัย
53
9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544
(ยุบสภา)[9]
23
(1,2)
พันตำรวจโท ดร. ทักษิณ ชินวัตร
54
17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
11 มีนาคม พ.ศ. 2548
(สภาครบวาระ)
55
11 มีนาคม พ.ศ. 2548
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
19 กันยายน พ.ศ. 2549
(รัฐประหาร)
คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยฯ (คปค.)
19 กันยายน พ.ศ. 2549
1 ตุลาคม พ.ศ. 2549
24
พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์
56
1 ตุลาคม พ.ศ. 2549
(กราบบังคมทูลลาออกจากตำแหน่งองคมนตรี ก่อนเข้ารับตำแหน่ง)
29 มกราคม พ.ศ. 2551
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 : เลือกตั้งทั่วไป)
25
นายสมัคร สุนทรเวช
57
29 มกราคม พ.ศ. 2551
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
9 กันยายน พ.ศ. 2551
(ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้พ้นจากตำแหน่ง)[10]
26
นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์
57
9 กันยายน พ.ศ. 2551
(นายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง)
18 กันยายน พ.ศ. 2551
(โปรดเกล้าฯ นายกรัฐมนตรีคนใหม่)
58
18 กันยายน พ.ศ. 2551
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
2 ธันวาคม พ.ศ. 2551
(เพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง 5 ปี)[11]
-
นายชวรัตน์ ชาญวีรกูล
58
2 ธันวาคม พ.ศ. 2551
(นายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง)
17 ธันวาคม พ.ศ. 2551
(โปรดเกล้าฯ นายกรัฐมนตรีคนใหม่)
27
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
59
17 ธันวาคม พ.ศ. 2551
(มติสภาผู้แทนราษฎร)
ปัจจุบัน
Credit:
คิดก่อนพิมพ์