ปิทาโกรัส (Pythagoras)

ปิทาโกรัส (Pythagoras)

ชื่อนี้คุ้นๆหูกันมั้ย เวลาเรียนคณิตศาสตร์ไง

                                                                      

 

 

ปิทาโกรัส (Pythagoras)
เกิด 582 ปีก่อนคริสต์ศักราช ที่เมืองซามอส ประเทสกรีซ (Greece)
เสียชีวิต 507 ปีก่อนคริสต์ศักราช เมืองเมตาปอนตัม กรีซ

        ปิทาโกรัสเป็นักคณิตศาสตร์ผู้คิดค้นสูตรคูณ และทฤษฎีเรขาคณิตที่ใช้มาจนทุกวันนี้ ประวัติส่วนตัวของเขาไม่ได้มีการบันทึกไว้มากนัก เขาเป็นคนฉลากหลักแหลมและรอบรู้มีความสามารถและเป็นที่นับถือของชาวเมืองทั่วๆไป อายุ 16 ปีเขาได้ได้ไปร่ำเรียนเป็นลูกศิษย์ของ เทลีส (นักวิทยาศาสตร์ผู้มีชื่อเสียงอีกคนของกรีก ผู้ค้นพบไฟฟ้าสถิตย์ เกิดก่อน คริสต์ศักราช 640 ปี) ผู้เป็นนักปรัชญาเอกของโลกซึ่งได้ถ่ายเทวิชาให้เขาทั้งหมด แต่เขาก็ได้เดินทางไปหลายประเทศเพื่อศึกษาหาความรู้เช่น อาระเบีย เปอร์เซีย อินเดีย อียิปต์ จนกลับมาตั้งโรงเรียนเองบนเกาะซามอสบ้านเกิด โรงเรียนของเขาสอนด้าน ปรัชญา คณิตศาสตร์ ดาราศาสตร์ มีลูกศิษย์มากมาย ส่วนใหญ่เป็นลูกคณบดี และพอเรียนจบก็มีการตั้งชมรม “ชุมนุมปีทาโกเรียน” เพื่อศึกษาด้านคณิตศาสตร์อย่างกว้างขวาง ปิทาโกธัส ได้กล่าวว่า คณิตศาสตร์เป็นพื้นฐานของทุกสิ่งทุกอย่าง ถ้าไม่มีคณิตศาสตร์แล้วทุกอย่างจะไม่เกิดขึ้น เพราะการคำนวณต่างๆต้องเกี่ยวกับตัวเลขทั้งสิ้น นอกจากนี้เขายังเขายังพบเลขคี่ คือ 5 เป็นตัวแรกของโลก และเลขยกกำลังสอง นอกจากนี้เขายังแบ่งคณิตศาสตร์ออกเป็น 2 สาขา คือ

เลขคณิต เกี่ยวกับตัวเลข เรขาคณิต เกี่ยวกับรูปทรงต่างๆ เช่นสี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม วงกลม

        ปิทาโกรัส เป็นนักวิทยาศาสตร์คนแรกผู้ตั้งทฤษฎีว่าโลกกลมและหมุนรอบตัวเอง รวมถึงดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวเคราะห์ ก็หมุนรอบตัวเองเช่นกัน ซึ่งทฤษฎีนี้ต่อมานักดาราศาสตร์อย่างกาลิเลโอ โคเปอร์นิคัส ได้นำมาพิสูจน์และถูกต้อง

ผลงานการการค้นพบ ของ ปิทาโกรัส (Pythagoras) 

สร้างสูตรคูณหรือตารางปีทาโกเรียน (Pythagorean Table) ทฤษฎีเรขาคณิตที่ว่า “ในรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใดๆกำลังสองของความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก เท่ากับผลบวกของกำลังสองของความยาวของด้านประกอบมุมฉาก” สมบัติของแสงและการมองวัตถุ สมบัติของเสียง
Credit: www.google.com
22 ส.ค. 53 เวลา 09:40 5,029 5 40
แชร์สกู๊ป
กรุณา Login เพื่อแสดงความคิดเห็น
ส่ง Scoop ให้เพื่อน
แจ้งลบไม่เหมาะสม
ความคิดเห็น

เรื่องอื่นๆ ที่น่าสนใจ

Loading...