การเดินขึ้นลงอาคารหรือตึกที่มีหลายชั้นนั้น แน่นอนว่าหากคนรักสุขภาพ อาจจะใช้เป็นการออกกำลังกายได้ แต่ไม่ใช่ทุกคนที่จะมีสุขภาพเข่าและกระดูกที่แข็งแรง โดยเฉพาะผู้สูงอายุ ซึ่งไม่สามารถเดินขึ้นลงไปยังชั้นสูงๆได้ จึงไม่แปลกใจว่า เจ้าของตึก เจ้าของอาคารที่พัก อพาร์ทเมนต์หรือสำนักงานต่างๆ จะเห็นถึงปัญหาตรงนี้ จึงเลือกใช้บริการติดตั้งลิฟท์ครบวงจร เพื่อที่จะอำนวยความสะดวกให้แก่ทุกคน และหากสถานที่นั้นเป็นโรงพยาบาล แม้จะมีแค่เพียงไม่กี่ชั้น แต่การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยนั้นคือสิ่งสำคัญ สมควรอย่างยิ่งที่จะต้องมีการรับติดตั้งลิฟท์โรงพยาบาลเพื่อให้บุคลากรทางการแพทย์ได้ใช้งานได้อย่างสะดวกสบายในการขนย้ายผู้ป่วย
ไม่ใช่แค่อาคาร หรือตึกสำนักงานเท่านั้นที่ติดตั้งลิฟต์ แต่บ้านเรือนหลายๆหลังเองก็นิยมใช้ลิฟต์เช่นกัน เพราะบางครอบครัวเป็นครอบครัวใหญ่ที่มีคนทุกวัย โดยเฉพาะผู้สูงวัย และการเคลื่อนย้ายไปแต่ละชั้นของบ้านนั้น การใช้ลิฟต์ถือเป็นความปลอดภัยและรวดเร็วที่สุด เพราะฉะนั้นแล้วเราควรเลือกบริษัทติดตั้งลิฟต์ที่จำหน่ายลิฟท์แก้ว ลิฟท์กระจก รวมไปถึง จำหน่าย ติดตั้งลิฟท์นอกอาคาร เพื่อที่เราจะสามารถมีลิฟต์บ้านไว้ใช้ได้ เมื่อคำนึงถึงสุขภาพของผู้สูงอายุ การเลือกรับประทานอาหารคือสิ่งสำคัญ ที่เราสามารถทำได้ เคล็ดลับเหล่านี้มาจากเว็บไซต์ของศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก มหาวิทยาลัยมหิดลแชร์ไว้ว่า การเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมต่อสุขภาพเป็นเรื่องที่จำเป็น โดยเฉพาะผู้สูงวัยซึ่งเป็นวัยที่ต้องการพลังงานและสารอาหารแตกต่างจากวัยทำงาน หรือผู้ที่มีสุขภาพร่างกายปกติ เนื่องจากประสิทธิภาพการทำงานที่ลดลงของระบบต่างๆ ดังนั้น จึงต้องมีความเข้าใจเรื่องอาหารและโภชนาการเป็นอย่างดี ซึ่งความต้องการพลังงานและสารอาหารในผู้สูงอายุแต่ละรายก็จะแตกต่างกันไป ขึ้นกับอายุ น้ำหนัก ส่วนสูง และการใช้พลังงานในแต่ละวัน โภชนบัญัติ 9 ประการสำหรับผู้สูงอายุ คือ กินอาหารให้หลากหลายใน:)ส่วนที่เหมาะสม และหมั่นดูแลน้ำหนักตัว กินข้าวเป็นหลัก เน้นข้าวกล้อง ข้าวขัดสีน้อย กินพืชผักและผลไม้ตามฤดูกาลให้มากเป็นประจำ กินปลา ไข่ เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ถั่วและผลิตภัณฑ์จากถั่วเป็นประจำ ดื่มนมและผลิตภัณฑ์จากนมเป็นประจำหลีกเลี่ยงอาหาร ไขมันสูง หวานจัด เค็มจัด ดื่มน้ำสะอาดให้เพียงพอ ควรหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มรสหวาน กินอาหารสะอาด ปลอดภัย งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ สร้างบรรยากาศการรับประทานอาหารให้อร่อย ด้วยการรับประทานอาหารพร้อมหน้าพร้อมตาทั้งครอบครัว มีกิจกรรมทำร่วมกัน เช่น ร่วมกันปรุงประกอบอาหาร เปลี่ยนบรรยากาศรับประทานอาหารนอกบ้าน หรือไปเที่ยวทั้งครอบครัวเป็นบางโอกาส เลือกรับประทานอาหารที่อุดมด้วยวิตามิน เอ บี1 บี12 ซี อี ลูทีน ซีแซนทีน ซิลิเนียม และสังกะสี ซึ่งช่วยในการทำงานของจอประสาทตา ชะลอการเกิดต้อกระจกและจอประสาทตาเสื่อม ซึ่งพบใน ตำลึง ฟักทอง กะหล่ำดอก ผักบุ้ง บร็อคโคลี แครอท ข้าวโพด ฝรั่ง ส้ม มะละกอ ผลไม้ตระกูลเบอร์รี่ ตับ ไข่ หอยนางรม ปลา นม และน้ำมันพืช เป็นต้น